ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สันนิบาตชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 36:
'''สันนิบาตชาติ''' มีการย่อคำว่า LON <ref>{{cite web|title="80th anniversary of the laying of the founding stone of the Palais des Nations"|url=https://www.unog.ch/80256EE600594458/(httpPages)/2A3C98DEDEA5A9B0C125762B002824E3?OpenDocument|website=United Nations Geneva|accessdate=6 June 2020}}</ref> ({{lang-fr|Société des Nations}} {{IPA-fr|sɔsjete de nɑsjɔ̃|}}, มีการย่อคำ '''SDN''' หรือ '''SdN''') เป็น[[องค์การระหว่างรัฐบาล]]ทั่วโลกแห่งแรกที่มีภารกิจหลักในการปกป้องสันติภาพของโลก<ref>{{cite book|last=Christian|first=Tomuschat|title=The United Nations at Age Fifty: A Legal Perspective|year=1995|publisher=Martinus Nijhoff Publishers|isbn=9789041101457|page=77|url=https://books.google.com/books?id=iz55RRayP34C&pg=PA77}}</ref> ถูกก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1920 ภายหลังจาก[[การประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919|การประชุมสันติภาพปารีส]] ซึ่ง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ได้ยุติลง ในปี ค.ศ. 1919 ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ [[วูดโรว์ วิลสัน]] ได้รับ[[รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ]]จากบทบาทของเขาในฐานะผู้ก่อตั้งสันนิบาต
 
เป้าหมายหลักขององค์กรนี้ ตามที่ได้ระบุไว้ใน[[กติกาสัญญาของสันนิบาตชาติ|กติกาสัญญา]] รวมทั้งการป้องกันไม่ให้เกิดสงครามผ่านทางการรักษาความปลอดภัยโดยรวมและ[[การลดอาวุธ]]และการยุติข้อพิพาทระว่างประเทศผ่านทางการเจรจาและ[[อนุญาโตตุลาการ]]<ref>{{cite web|title=Covenant of the League of Nations|url=http://avalon.law.yale.edu/20th_century/leagcov.asp|publisher=The Avalon Project|accessdate=30 August 2011|archive-url=https://web.archive.org/web/20110726080156/http://avalon.law.yale.edu/20th_century/leagcov.asp|archive-date=26 July 2011|url-status=live}}</ref> ประเด็นอื่นๆ ในเรื่องนี้และสนธิสัญญาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สหภาพแรงงาน การปฏิบัติตัวต่อประชากรชาวพื้นเมือง การค้าขายมนุษย์และยาเสพติดที่ผิดกฏหมายกฎหมาย การค้าขายอาวุธปืน สุขภาพทั่วโลก เชลยสงคราม และการปกป้องชนกลุ่มน้อยในยุโรป<ref>See Article 23, {{cite web|url=http://avalon.law.yale.edu/20th_century/leagcov.asp|title=Covenant of the League of Nations|access-date=20 April 2009|archive-url=https://web.archive.org/web/20110726080156/http://avalon.law.yale.edu/20th_century/leagcov.asp|archive-date=26 July 2011|url-status=live}}, {{cite web|url=http://en.wikisource.org/wiki/Treaty_of_Versailles|title=Treaty of Versailles|access-date=23 January 2010|archive-url=https://web.archive.org/web/20100119080339/http://en.wikisource.org/wiki/Treaty_of_Versailles|archive-date=19 January 2010|url-status=live}} and [[Minority Treaties]].</ref> [[กติกาสัญญาของสันนิบาตชาติ]]ได้ถูกลงนาม เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ซึ่งเป็นส่วนที่หนึ่งของ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] และมีผลบังคับใช้ร่วมกับสนธิสัญญาอื่นๆ เมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1920 การประชุมครั้งแรกของคณะมนตรีสันนิบาตเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 16 มกราคม ค.ศ. 1920 การประชุมครั้งแรกของสมัชชาสันนิบาตได้เกิดขึ้น เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1920
 
ปรัชญาด้านการฑูตทูตที่อยู่เบื้องหลังของสันนิบาตเป็นตัวแทนของการเปลี่ยนแปลงรากฐานจากช่วงร้อยปีก่อนหน้านี้ สันนิบาตนั้นไม่มีกองกำลังติดอาวุธเป็นของตัวเองและขึ้นอยู่กับประเทศต่างๆ ในฝ่ายสัมพันธมิตรที่เป็นฝ่ายชนะใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] (ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร อิตาลี และญี่ปุ่น ซึ่งเป็นสมาชิกถาวรของสภาบริหาร) เพื่อบังคับใช้ในการลงมติ บทลงโทษด้วยการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ หรือให้จัดตั้งกองทัพเมื่อมีความจำเป็น [[มหาอำนาจ]]มักจะไม่เต็มที่จะกระทำเช่นนั้น บทลงโทษนั้นอาจจะไปทำร้ายต่อประเทศสมาชิกในสันนิบาต ดังนั้นพวกเขาจึงไม่เต็มใจที่จะปฏิบัติตาม ในช่วง[[สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง]] เมื่อสันนิบาตได้กล่าวหาว่า ทหารอิตาลีได้กำหนดเป้าหมายโจมตีไปที่เต็นท์แพทย์ของ[[กาชาด|หน่วยงานกาชาด]] [[เบนิโต มุสโสลินี]]ได้ตอบไปว่า "สันนิบาตนี้ดีนักหนา เมื่อนกกระจอกส่งเสียงร้องเอะอะโวยวาย แต่คงไม่ดีทั้งหมดเลย เมื่อนกอินทรีได้หลุดออกไป"<ref>{{cite web|url=http://www.oldsite.transnational.org/Area_MiddleEast/2008/Jahanpour_SC-Iran.pdf|title=The Elusiveness of Trust: the experience of Security Council and Iran|accessdate=27 June 2008|publisher=Transnational Foundation of Peace and Future Research|last=Jahanpour|first=Farhang|page=2|archive-url=https://web.archive.org/web/20140727102504/http://www.oldsite.transnational.org/Area_MiddleEast/2008/Jahanpour_SC-Iran.pdf|archive-date=27 July 2014|url-status=live}}</ref>
 
ด้วยองค์กรนี้ได้เติบโตขยายมากขึ้น ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 1934 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1935 ได้มีสมาชิกถึง 58 สมาชิก ภายหลังจากที่ประสบความสำเร็จอย่างโดดเด่นและบางส่วนก็ประสบความล้มเหลวในปี ค.ศ. 1920 ในท้ายที่สุด สันนิบาตได้แสดงให้เห็นแล้วว่า ไม่สามารถขัดขวางความก้าวร้าวของ[[ฝ่ายอักษะ]]ในปี ค.ศ. 1930 ความน่าเชื่อถือขององค์กรได้ลดลงจากข้อเท็จจริงที่ว่า[[สหรัฐอเมริกา]]ไม่เคยเข้าร่วมสันนิบาตและ[[สหภาพโซเวียต]]ได้เข้าร่วมในช่วงปลายปีและไม่นานก็ถูกขับไล่ในภายหลังจาก[[สงครามฤดูหนาว|ได้เข้ารุกรานฟินแลนด์]].<ref>{{cite book|title=The participation of the Soviet Union in universal international organizations.: A political and legal analysis of Soviet strategies and aspirations inside ILO, UNESCO and WHO|author=Osakwe, C O|year=1972|publisher=Springer|url=https://books.google.com/books?id=e2OmtJvNjHoC|page=5|isbn=978-9028600027}}</ref><ref>{{cite book|author=Pericles, Lewis|year=2000|publisher=Cambridge University Press|title=Modernism, Nationalism, and the Novel|url=https://books.google.com/books?id=F-ImKOwYvsoC|page=52|isbn=9781139426589}}</ref><ref>{{cite book|title=Historical Dictionary of the League of Nations|author=Ginneken, Anique H. M. van|year=2006|publisher=Scarecrow Press|url=https://books.google.com/books?id=-mjkuGZLhBIC|page=174|isbn=9780810865136}}</ref><ref>{{cite book|title=The Origin, Structure & Working of the League of Nations|author=Ellis, Charles Howard|year=2003|publisher=Lawbook Exchange Ltd|url=https://books.google.com/books?id=xmIsAveUZRgC|page=169|isbn=9781584773207}}</ref> เยอรมนีได้ถอนตัวออกจากสันนิบาตเช่นเดียวกับญี่ปุ่น อิตาลี เสปน และอื่นๆ การริเริ่มของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ได้แสดงให้เห็นว่า สันนิบาตได้ประสบความล้มเหลวในเป้าหมายหลักนั่นคือเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดสงครามโลกในอนาคต สันนิบาติได้ดำรงอยู่ถึง 26 ปี [[สหประชาชาติ]] (UN) ได้เข้ามาแทนที่ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง และได้สืบทอดหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่ก่อตั้งขึ้นโดยสันนิบาต