ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไลโซโซม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
มีการพิมพ์ตัวอัษรเกินมาจากแยกเป็นแยกกก
บรรทัด 4:
[[File:Lysosomes Digestion.svg|thumb|ภาพแสดงขั้นตอนการย่อยสารของไลโซโซม ขั้นแรกคือการนำสารเข้ามาในเซลล์ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ในฟู๊ดแวคคิวโอล (เรียกกระบวนการนี้ว่า “เอ็นโดไซโตซิส”) ขั้นที่สอง ไลโซโซมซึ่งมีเอไซม์ไฮโดรไลติกที่กระตุ้นแล้วเข้ามา พร้อมกับฟู๊ดแวคคิวโอลเคลื่อนที่ออกจากเยื่อหุ้มเซลล์ ขั้นตอนที่สาม ไลโซโซมรวมเข้ากับฟู๊ดแวคคิวโอลและเอนไซม์ไฮโดรไลติกเคลื่อนที่เข้าไปในฟู๊ดแวคคิวโอล และในขั้นตอนที่สี เอนไซม์ไฮโดรไลติกได้ย่อยสารภายในฟู๊ดแวคคิวโอล<ref>{{cite book | vauthors = Holtzclaw FW, etal | title = AP* Biology: to Accompany Biology | edition = 8th AP | publisher = Pearson Benjamin Cummings | date = 2008 }}</ref>]]
 
ไลโซโซมมีหน้าที่เปรียบดั่งระบบที่ทิ้งขยะ (waste disposal system) ของเซลล์ ผ่านการย่อยสลายสารหรือองค์ประกอบในเซลล์ที่ไม่ได้ใช้งานแล้วหรือถูกแยกกกออกมา ทั้งที่เป็นสารจากภายนอกและภายในเซลล์ สารจากภายนอกเซลล์นั้นเข้ามาในเซลล์ผ่านการ[[endocytosis|เอ็นโดไซโตซิส]] (endocytosis) ส่วนสารภายในเซลล์จะถูกย่อยผ่านการ[[autophagy|ออโตฟากี]] (autophagy)<ref>{{cite journal|title=When the brain's waste disposal system fails |journal=Knowable Magazine |last=Underwood |first=Emily |doi=10.1146/knowable-121118-1 |url=https://www.knowablemagazine.org/article/living-world/2018/when-brains-waste-disposal-system-fails|year=2018 }}</ref> ขนาดของไลโซโซมนั้นแตกต่างกันมาก บางไลโซโซมตัวใหญ่อาจมีขนาดกว่าสิบเท่าของไลโซโซมตัวเล็ก<ref>{{cite book| editor-last1 = Zaftig | editor-first1 = Paul | title = Lysosomes | chapter = History and Morphology of Lysosome | first1 = Renate | last1 = Lüllmznn-Rauch | name-list-format = vanc | date = 2005 | publisher = Landes Bioscience/Eurekah.com | location=Georgetown, Tex. | isbn = 978-0-387-28957-1 | edition = Online-Ausg. 1 | pages = 1–16 | chapter-url = https://books.google.com/books?id=mTgNUPS5tcUC&dq}}</ref> ไลโซโซมนั้นค้นพบและตั้งชื่อโดยนักชีววิทยาชาวเบลเยียม [[Christian de Duve|คริสเชียน เดอ ดูเว]] (Christian de Duve) ผู้ซึ่งในที่สุดได้รับรางวัล[[Nobel Prize in Physiology or Medicine|โนเบลสาขากายวิภาคศาสตร์หรือการแพทย์]] ในปี 1974
 
จากการศึกษาพบว่าภายในไลโซโซมประกอบเอนไซม์ชนิดต่าง ๆ กว่า 60 ชนิด และมีเมมเบรนโปรตีน (membrane protein) มากกว่า 50 ชนิด<ref>{{cite journal | vauthors = Xu H, Ren D | title = Lysosomal physiology | journal = Annual Review of Physiology | volume = 77 | issue = 1 | pages = 57–80 | date = 2015 | pmid = 25668017 | pmc = 4524569 | doi = 10.1146/annurev-physiol-021014-071649 }}</ref><ref>{{cite web|title=Lysosomal Enzymes|url=https://www.rndsystems.com/research-area/lysosomal-enzymes|website=www.rndsystems.com|publisher=R&D Systems|access-date=4 October 2016}}</ref> เอนไซม์ต่าง ๆ ในไลโซโซมนั้นสังเคราะห์ขึ้นใน[[rough endoplasmic reticulum|รัฟเอ็นโดพลาสมิกเรกติคูลัม]] (rough endoplasmic reticulum) และส่งไปยัง[[กอลไจแอปพาราตัส]] (Golgi apparatus) ภายในเวสซิเคิล (vesicles) เล็ก ๆ เอนไซม์ที่จะถูกใช้โดยไลโซโซมนั้นจะถูกเติม [[mannose 6-phosphate|แมนโนส 6-ฟอสเฟต]] (mannose 6-phosphate) เพื่อจะถูกแบ่งเป็นเวสซิเคิลที่ถูกทำเป็นกรดแล้ว (acidified vesicles) ได้<ref>{{cite journal | vauthors = Saftig P, Klumperman J | title = Lysosome biogenesis and lysosomal membrane proteins: trafficking meets function | journal = Nature Reviews Molecular Cell Biology | volume = 10 | issue = 9 | pages = 623–35 | date = September 2009 | pmid = 19672277 | doi = 10.1038/nrm2745 }}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = Samie MA, Xu H | title = Lysosomal exocytosis and lipid storage disorders | journal = Journal of Lipid Research | volume = 55 | issue = 6 | pages = 995–1009 | date = June 2014 | pmid = 24668941 | pmc = 4031951 | doi = 10.1194/jlr.R046896 }}</ref>