ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุรเกียรติ์ เสถียรไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 46:
Member of the Board, Boao Forum for Asia (2018-ปัจจุบัน)
Member of “Leaders for Peace” Chaired by Former Prime Minister of France (Jean-Pierre Raffarin) (2017-ปัจจุบัน)
Member of the International Task Force on ruleRule of lawLaw visionVision 2030, appointed by secretarySecretary of Justice of Hong Kong.
ศาสตราจารย์พิเศษ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประธานกรรมการบริษัท เป๊ปซี่โค เซอร์วิสเซส เอเชีย จำกัด
บรรทัด 53:
 
== ประวัติ ==
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เกิดวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2501 ที่[[กรุงเทพมหานคร]] เป็นบุตรชายคนเดียวของศาสตราจารย์พิเศษ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2525/D/143/6.PDF</ref> ดร.สุนทร เสถียรไทย อดีตอธิบดีกรมบัญชีกลาง อดีตอธิบดีกรมธนารักษ์ และอดีตรองปลัดกระทรวงการคลัง กับ ศาสตราจารย์กิตติคุณ คุณหญิงเกื้อกูล เสถียรไทย อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สกุลเดิม สวัสดิ์-ชูโต)
 
สุรเกียรติ์ เสถียรไทย สมรสกับท่านผู้หญิง ดร.สุธาวัลย์ เสถียรไทย ธิดาท่านผู้หญิงหม่อมราชวงศ์บุษบา (กิติยากร) สธนพงศ์ พระขนิษฐาในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง กับ[[หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์]] อดีต[[ราชเลขาธิการ]]และอดีต[[องคมนตรี]] มีบุตร 1 คน คือ ดร.สันติธาร เสถียรไทย
 
== การศึกษา ==
สุรเกียรติ์ เสถียรไทย จบการศึกษาปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต [[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] (เกียรตินิยมเหรียญทอง) ปริญญาโทความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (กฎหมาย, การเมืองและการเศรษฐกิจระหว่างประเทศ) จาก โรงเรียนกฎหมายและการทูตเฟลตเชอร์ (The Fletcher School of Law and Diplomacy) , [[มหาวิทยาลัยทัฟส์]] (Tufts University) สหรัฐอเมริกาและเป็นคนไทยคนแรกที่สำเร็จการศึกษาระดับ[[ปริญญาเอก]] [[ทางนิติศาสตร์]]จาก[[มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด]] สหรัฐอเมริกา
 
รางวัลเกียรติยศ
 
ปริญญานิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2562)
 
ปริญญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจและการจัดการ, สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง (2562)
ปริญญาปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (2562)
ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง (2557)
เส้น 70 ⟶ 72:
== การทำงาน ==
=== งานการศึกษา ===
สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เคยร่วมสอนกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กับ ศาสตราจารย์เฟรดเดอริก สโนเดอร์สไนเดอร์ ในระดับปริญญาโท ณ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ริเริ่มหลักสูตรกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศและการวิจัยสหสาขาระหว่างนิติศาสตร์และสาขาอื่นๆที่คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเคยดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยกฏหมายและการพัฒนาเป็นคนแรก และคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็น[[ศาสตราภิชาน]]ของคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5 วาระติดต่อกัน และได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น[[ศาสตราจารย์พิเศษ]] สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เคยดำรงตำแหน่งนักวิชาการอาวุโสของ Harvard Law School และ Kennedy School of Government มหาวิทยาลัย Harvard สหรัฐอเมริกา เป็น Visiting Professor ของมหาวิทยาลัย Brown สหรัฐอเมริกา และ Member of the Advisory Council, Global Law and Policy Institute, Harvard Law School, U.S.A. และ Member of Asian Advisory Group of the Fletcher School of Law and Diplomacy, Tufts University สหรัฐอเมริกา
 
นอกจากนั้น ยังเป็น
เส้น 91 ⟶ 93:
 
=== งานธุรกิจ ===
สุรเกียรติ์ เสถียรไทย เป็นผู้ก่อตั้งสำนักกฎหมายสากลสยามพรีเมียร์ เมื่อปีพ.ศ. 2533 นอกจากนี้เป็นผู้มีบทบาทหลักในการเจรจาแก้ไขปัญหาข้อพิพาทสัญญาซื้อก๊าซธรรมชาติ (Take or Pay) ระหว่างการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยกับกลุ่มผู้ผลิตก๊าซในเมียนม่าร์ ซึ่งผลการเจรจาเป็นผลให้การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยไม่ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายเป็นคดีความ นอกจากนี้ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ในปีพ.ศ. 2540 ในฐานะประธานกรรมการ ได้นำบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) (ปตท.สผ.) ไป Roadshow ในต่างประเทศ จนประสบความสำเร็จในการออกหุ้นเพิ่มทุนแม้อยู่ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 และยังเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการเจรจากับเจ้าหนี้ต่างประเทศเพื่อปรับโครงสร้างหนี้และฟื้นฟูกิจการให้บริษัท ไทยออยล์ จำกัด ในฐานะประธานคณะผู้นำแผนและ ประธานคณะผู้บริหารแผน จนประสบความสำเร็จเป็นบริษัทแรกของไทยหลังวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 จึงเป็นผลดีต่อบริษัทที่รัฐบาลมีหุ้นใหญ่ให้เจริญก้าวหน้าได้มั่นคง และปัจจุบันเป็นประธานที่ปรึกษาให้บริษัทเอกชนต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศหลายแห่ง
 
===เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ไทย)===