ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีกลางบางซื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
|shopno=
}}
'''สถานีกลางบางซื่อ''' ({{lang-en|Bang Sue Grand Station}}) เป็นโครงการก่อสร้างสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เพื่อทดแทน[[สถานีรถไฟกรุงเทพ|สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง)]] โดยตั้งอยู่ใจกลาง[[ศูนย์คมนาคมพหลโยธิน]]ในพื้นที่[[เขตจตุจักร]] [[กรุงเทพมหานคร]] กำหนดเปิดใช้งานในต้นปี พ.ศ. 2564-2565 พร้อมกับเส้นทาง[[รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง]] รวมระยะเวลาก่อสร้างตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2556 เป็นเวลา 8 ปี
 
สถานีกลางบางซื่อมีความยาว 596.6 เมตร ความกว้าง 244 เมตร ความสูง 43 เมตร พื้นที่ใช้สอยรวม 274,192 ตารางเมตร<ref name=Veera>รายการฟังหูไว้หู. ออกอากาศเมื่อ 1 กรกฎาคม 2562. ช่อง 9MCOT</ref><ref>"พื้นที่ใช้สอยรวม 274,192 ตารางเมตร" ไม่รวมของสถานีของสายสีน้ำเงิน</ref> ทำให้เมื่อก่อสร้างแล้วเสร็จจะเป็นสถานีรถไฟหลักแห่งใหม่ของ[[ประเทศไทย]] และเป็นสถานีรถไฟใหญ่ที่สุดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]{{อ้างอิง}} ก่อสร้างด้วยงบประมาณ 15,988 ล้านบาท<ref>[http://www.bangsue-rangsitredline.com/file/12-61-1.pdf ตารางสรุปแผนงานและผลงานความก้าวหน้าของการก่อสร้าง ประจำเดือนธันวาคม 2561 ของสัญญาที่ 1] โครงการรถไฟชานเมืองสายสีแดง</ref> ประกอบด้วยชานชาลา 26 ชานชาลา เป็นชานชาลาของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] 24 ชานชาลา และของ[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] 2 ชานชาลา
 
== ประวัติ ==
ในคราวการก่อสร้าง[[รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน|โครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] ช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน เมื่อ พ.ศ. 2552 ได้ออกแบบให้มีการก่อสร้างทางวิ่งยกระดับบางส่วนสำหรับเข้าพื้นที่โครงการสถานีกลางบางซื่อรอไว้ โดยโครงการได้เริ่มแต่ครั้งนั้นยังไม่อนุมัติให้มีการก่อสร้างเมื่อวันที่ตัวสถานี 15 มกราคมเนื่องจากปัญหาการบุกรุกพื้นที่ พ.ศ. 2552 แล้วเสร็จทั้งโครงสร้างและความไม่ชัดเจนในการวางรางเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคมออกแบบตัวสถานี พ.ศ. 2555 ซึ่งปัจจุบันยังไม่สามารถเปิดให้บริการได้เนื่องจากกำลังทำให้มีการโยกงานติดตั้งเสาจ่ายไฟฟ้าและสายส่งไฟฟ้า (OCS) และรอการก่อสร้างสถานีกลางบางซื่อซึ่งจะเสร็จสมบูรณ์ทั้งหมดไปรวมกับสายสีแดงเข้ม เพื่อเปลี่ยนระบบเป็นระบบไฟฟ้าในเดือนตุลาคมคราวเดียว พ.ศ.จึงทำให้โครงการถูกทิ้งร้าง 2563ไม่ได้มีการใช้งานตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
 
ในปี พ.ศ. 2553 ในสมัยรัฐบาล [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] โครงการสถานีกลางบางซื่อถูกเสนอเข้าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ[[รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดง]] ซึ่งเดิมกำหนดให้มีโครงสร้างสถานีจำนวน 2 ชั้น ได้แก่ชั้นที่ 1 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับ[[การขนส่งระบบรางในประเทศไทย|รถไฟทางไกล]] ชั้นที่ 2 เป็นชั้นชานชาลาสำหรับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ[[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]ส่วนต่อขยาย (Airport Rail Link ช่วงพญาไท-บางซื่อ) แต่ในปีเดียวกันเกิดการยุบสภา โครงการจึงหยุดชะงักลง