ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุริยุปราคา 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 32:
 
== การค้นพบฮีเลียม ==
นักดาราศาสตร์ [[ปิแอร์ จองส์ชอง]] สังเกตสุริยุปราคาครั้งนี้จาก[[คุนตูร์]] รัฐไอไฮเดอราบัด [[บริติชราช|อินเดียของอังกฤษ]] นับเป็น[[สุริยุปราคาเต็มดวง]]ครั้งแรกนับตั้งแต่ทฤษฎีของ[[เคอร์ชอฟฟ์]]ซึ่งเสนอไว้เมื่อปี พ.ศ. 2402 ว่า [[เส้นฟรอนโฮเฟอร์]]ใน[[สเปกตรัม]]ของดวงอาทิตย์มีความสัมพันธ์กับแถบเปล่งแสงของ[[ธาตุเคมี]]ต่างชนิดที่มีอยู่ในดวงอาทิตย์ จองส์ชองสังเกตการณ์สุริยุปราคาดังกล่าวด้วย[[สเปกโตรมิเตอร์]] เขาสังเกตพบแถบสีเหลืองสว่าง ([[ความยาวคลื่น]] 587.49 นาโนเมตร) ในสเปกตรัมของเปลวสุริยะซึ่งไม่อาจเป็นธาตุ[[โซเดียม]]อย่างที่เคยสันนิษฐานไว้เดิมได้ และในภายหลัง ก็สามารถสังเกตพบแถบเดิมโดยไม่จำเป็นต้องสังเกตในช่วงที่เกิดสุริยุปราคาขึ้นก่อน ผลแบบเดียวกันยังถูกพบโดยนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ [[นอร์แมน ล็อกเยอร์]] และทั้งการสื่อสารของจองส์ชองและล็อกเยอร์ถูกนำเสนอไปยัง[[สถาบันวิทยาศาสตร์ฝรั่งเศส]]เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2411<ref>{{citation | url = http://www.wired.com/thisdayintech/2009/08/dayintech_0818/ | publisher = wired.com | accessdate = 2010-03-18 | title = Aug. 18, 1868: Helium Discovered During Total Solar Eclipse | date = August 18, 2009 | first = Hadley | last = Leggett}}.</ref><ref>{{citation | journal = C. R. Hebd. Acad. Sci. Paris | volume = 67 | year = 1868 | pages = 836–41 | url = http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k3024c.image.r=comptes-rendus+hebdomadaires+Acad%C3%A9mie+des+Sciences.f836.langFR}}.</ref>
 
== การคำนวณของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ==
การคำนวณสุริยุปราคาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในคราวนี้ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ<ref name="siweb"/>
<blockquote>
# คำนวณหาตำแหน่งของ[[ดวงจันทร์]] และ[[ดวงอาทิตย์]] โดยใช้ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์ ซึ่งกำลังอยู่ในระหว่างการศึกษาในต่างประเทศ
บรรทัด 45:
 
== การตรวจสอบย้อนหลังด้วยคอมพิวเตอร์ ==
[[ไฟล์:King Mongkut Solar Eclipse Expedition.jpg|thumb|right|'''พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว''' ทรงฉายภาพร่วมกับเจ้าเมืองสิงคโปร์และแขกต่างประเทศ]]
ค่ายหลวง[[หว้ากอ]] อยู่ในตำแหน่งใกล้กับเส้นกึ่งกลางของคราส โดยสูงค่อนไปทางเหนือเล็กน้อย คราสเริ่มจับ (สัมผัสที่ 1) เวลา 10:32:23 น. จับหมดดวง (สัมผัสที่ 2) เวลา 12:00:31 น. กินลึกสุดเวลา 12:03:55 น. มุมเงยดวงอาทิตย์ 84.8° เริ่มคลายออก (สัมผัสที่ 3) เวลา 12:07:18 น. คลายหมดดวง (สัมผัสที่ 4) เวลา 13:35:13 น. ส่วนกรุงเทพมหานครในขณะนั้น เห็นเป็นสุริยุปราคาชนิดบางส่วนโดยกินลึกถึง 96% เวลา 12:03:33 น. ตามเวลามาตรฐานประเทศไทยในปัจจุบัน <ref>[http://eclipse.gsfc.nasa.gov/SEsearch/SEsearchmap.php?Ecl=18680818 Total Solar Eclipse of 1868 August 18].</ref>