ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเติร์กเมน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
}}
 
'''เติร์กเมน''' ({{lang|tk-Latn|Türkmençe}}, {{lang|tk-Cyrl|Түркменче}}, {{lang|tk-Arab|تۆرکمنچه}}, {{IPA|tʏɾkmɛntʃɛ|}} หรือ {{lang|tk-Latn|Türkmen dili}}, {{lang|tk-Cyrl|Түркмен дили}}, {{lang|tk-Arab|تۆرکمن ديلی}}, {{IPA|tʏɾkmɛn dɪlɪ|}}) เป็น[[กลุ่มภาษาเตอร์กิก|ภาษาเตอร์กิก]]ที่พูดโดย[[ชาวเติร์กเมน]]ใน[[เอเชียกลาง]] ส่วนใหญ่อยู่ใน[[ประเทศเติร์กเมนิสถาน]], [[อิหร่าน]] และ[[อัฟกานิสถาน]] โดยมีผู้พูดเป็นภาษาท้องถิ่นแม่ประมาณ 5 ล้านคนในเติร์กเมนิสถาน, 719,000 คนใน[[อิหร่าน]]ตะวันออกเฉียงเหนือ<ref>{{cite web |url=https://www.ethnologue.com/country/IR/status|title=Iran|website=Ethnologue}}</ref> และ 1.5 ล้านคนใน[[อัฟกานิสถาน]]ตะวันตกเฉียงเหนือ<ref name=e18>{{Ethnologue18|tuk}}</ref> เติร์กเมนมีสถานะเป็นภาษาทางการใน[[ประเทศเติร์กเมนิสถาน]] แต่ไม่ได้มีสถานะทางการใน[[ประเทศอิหร่าน]]หรือ[[อัฟกานิสถาน]] เติร์กเมนเป็นนอกจากนี้ยังมีผู้พูดภาษาที่พูดโดยสังคมนี้ในชุมชนเติร์กเมนส่วนน้อยใน[[ประเทศอุซเบกิสถาน]]กับ[[ทาจิกิสถาน]] และในสังคมชุมชนเติร์กเมนพลัดถิ่น โดยเฉพาะที่[[ประเทศตุรกี]]และ[[รัสเซีย]]<ref>{{cite web |title=Where and how do the Turkmens abroad live? (in Russian) |url=https://turkmenportal.com/compositions/39 |website=Information Portal of Turkmenistan}}</ref>
 
เติร์กเมนเป็นสมาชิกของสาขา[[กลุ่มภาษาโอคุซ|โอคุซ]]ของกลุ่มภาษาเตอร์กิก [[ภาษามาตรฐาน|รูปรูปแบบมาตรฐาน]]ของภาษาเติร์กเมน (ที่พูกในประเทศเติร์กเมนิสถาน) มามีพื้นฐานจากสำเนียง[[Teke (Turkmen tribe)|เตเก]] ในขณะที่ประเทศชาวเติร์กเมนในอิหร่านส่วนใหญ่ใช้สำเนียง[[โยมุด]] และชาวเติร์กเมนในอัฟกานิสถานใช้สำเนียงหลายแบบเอร์ซารี<ref>{{cite web |title=Who are the Turkmen and where do they live? |url=https://celcar.indiana.edu/materials/language-portal/turkmen/index.html |website=Center for Languages of the Central Asia Region, Indiana University}}</ref> ภาษาเติร์กเมนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[ภาษากากาอุซ]], [[ภาษาควาซไคว]], [[ภาษาตาตาร์ไครเมีย]], [[ภาษาตุรกี]] และ[[ภาษาอาเซอร์ไบจาน]] โดยมีความคล้ายทาง[[การพูดคุยสื่อสารความเข้าใจภาษาของกันและกันได้]] (mutual intelligibility) ซึ่งกันและในระดับแตกต่างกันไป<ref name=innerAsia>{{cite book|last=Sinor|first=Denis|title=Inner Asia. History-Civilization-Languages. A syllabus|year=1969|publisher=Bloomington|isbn=0-87750-081-9|pages=71–96|url=https://books.google.com/books?id=vn-xZ3O1G-cC&pg=PA71#v=onepage&q&f=false}}</ref> รายงานจากการศึกษาทาง[[ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ|นักภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ]] [[ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมเชื้อสาย (ภาษาศาสตร์)|ญาติ]]ที่ใกล้ชิดที่สุดของภาษาเติร์กเมนคือ[[ภาษาอาเซอร์ไบจาน]]<ref>{{cite web |url=https://polit.ru/article/2009/04/30/mudrak/ |title=Language in time. Classification of Turkic languages (in Russian) |last=Mudrak |first=Oleg |date=30 April 2009 |website=polit.ru |access-date=31 August 2019 |quote=The collapse of the Turkmen-Azerbaijani. Despite all the assurances that Azerbaijani is the closest relative of Turkish, this is not so. The closest relative of it (Azerbaijani) is Turkmen. The collapse of this unity falls on around 1180. It is amazing. Because it matches with the period of collapse of the Great Seljuk Empire. This state, which included lands south of the Amu Darya: Afghanistan, Iran, the territory of modern Iraq, including Baghdad, Northern Syria, etc., was disintegrating. Then, the Khwarazmshahs appeared, but direct contacts between the population that was “'' east of the Caspian Sea ''" and the population that was in the region of Tabriz, the heart of Azerbaijan and the Great Seljuk Empire, ceased.}}</ref>
 
ภาษาเติร์กเมนเขียนโดยใช้[[อักษรซีริลลิก]]หรือ[[อักษรอาหรับ]]ด้วย อย่างไรก็ดี ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประธานาธิบดี[[ซาปาร์มูรัต นิยาซอฟ]] ได้ประกาศให้เขียนภาษาเติร์กเมนโดยใช้[[อักษรโรมัน]]ที่ได้รับการดัดแปลง
 
== การจัดจำแนก ภาษาที่เกี่ยวข้อง และสำเนียง ==
ภาษาเติร์กเมนเป็นภาษาในกลุ่มภาษาเตอร์กิก อยู่ในกลุ่มย่อยเตอร์กิกตะวันออก กลุ่มโอคุซตะวันออก ซึ่งกลุ่มนี้ได้รวม[[ภาษาเติร์กโคซารานี]]ด้วย ภาษาเติร์กเมนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ[[ภาษาตาตาร์ไครเมีย]]และ[[ภาษาซาลาร์]]และใกล้เคียงกับ[[ภาษาตุรกี]]และ[[ภาษาอาเซอร์ไบจาน]]
 
ภาษาเติร์กเมนเป็นภาษาที่มีการเปลี่ยนเสียงสระ เป็นภาษารูปคำติดต่อและไม่มีการแบ่งเพศทางไวยากรณ์และไม่มีกริยาอปกติ การเรียงลำดับคำในประโยคเป็นประธาน-กรรม-กริยา การเขียนของภาษาเติร์กเมนใช้ตามสำเนียงโยมุด และยังมีสำเนียงอื่นๆอื่น ๆ อีกมาก สำเนียงเตเกมักจะถูกอ้างว่าเป็น[[ภาษาชะกะไต]]โดยเฉพาะในอัฟกานิสถาน แต่ภาษาเติร์กเมนทุกสำเนียงได้รับอิทธิพลจากภาษาชะกะไตไม่มากนัก
 
== วรรณคดี ==
บรรทัด 50:
=== ปัจจัย ===
ปัจจัยเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของภาษาเติร์กเมน
<!--
 
== เสียง ==
=== สระ ===
บรรทัด 141:
|-
|}
-->
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}