ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ไทย–สหรัฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
|archivedate= 2012-05-29|quote= originally produced by [[United States Information Service|USIS]] Thailand with editions in 1982, 1983, 1987 and 1996.}}</ref> สิ่งนี้ได้รับการยืนยันจากอดีตนายกรัฐมนตรี [[สมัคร สุนทรเวช]] ซึ่งในปี ค.ศ. 2008 ได้พบกับจอร์จ ดับเบิลยู. บุช ใน "การเฉลิมฉลองครบรอบ 175 ปี ความสัมพันธ์ไทย–สหรัฐ"<ref>{{cite web|url=https://georgewbush-whitehouse.archives.gov/news/releases/2008/08/20080806-7.html|title=President Bush Meets with Prime Minister Samak of Thailand|website=georgewbush-whitehouse.archives.gov}}</ref>
 
ประเทศไทยจึงเป็นชาติในเอเชียชาติแรกที่ได้ทำข้อตกลงทางการทูตอย่างเป็นทางการกับสหรัฐ ซึ่งเป็น[[สนธิสัญญาวั่งซ่า|สิบเอ็ดปีก่อน]][[ราชวงศ์ชิง|ต้าชิง]] และ[[สนธิสัญญาคานางาวะ|ยี่สิบเอ็ดปี]]ก่อน[[รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ|โทกูงาวะญี่ปุ่น]] ส่วนในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1856 [[ทาวน์เซนด์ แฮร์ริส#สนธิสัญญาแฮร์ริสกับสยาม พ.ศ. 2399|ทาวน์เซนด์ แฮร์ริส]] ตัวแทนของประธานาธิบดี [[แฟรงกลิน เพียร์ซ]] ได้เจรจาขอแก้ไช''สนธิสัญญาทางไมตรี พาณิชย์ และการเดินเรือ'' กับผู้แทนของพระมหากษัตริย์ [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (รัชกาลที่สี่) ที่ให้[[สิทธิสภาพนอกอาณาเขต]]เพิ่มเติมแก่ชาวอเมริกัน ซึ่งสตีเฟน แมตตทูน มิชชันนารีชาวอเมริกันผู้ทำหน้าที่เป็นล่ามแปลภาษาของแฮร์ริส ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น[[กงสุล]]สหรัฐคนแรกประจำสยาม<ref>{{cite web |url= http://thailand-usa.com/history/history-diplomacy-relations-between-thailand-siam-united-states-of-america |title= History of Diplomatic relations between the Kingdom of Thailand (Siam) and United States of America |date= April 19, 2012 |work= Thai American Diplomacy History |publisher= Thailand-USA Portal and Hub |accessdate= April 19, 2012 |archiveurl= https://web.archive.org/web/20100212104055/http://thailand-usa.com/history/history-diplomacy-relations-between-thailand-siam-united-states-of-america/ |archivedate= 2010-02-12
|url-status= live |quote= Archived by WebCite®}}</ref><ref>{{cite web |url= http://bangkok.usembassy.gov/relation/timeline.html#1833 |title= The Foundations: 1833 - 1880 |author= |authorlink= |date= April 18, 2012
|format= |publisher= The Foundations: 1833 - 1880 |accessdate= April 19, 2012
|archiveurl= https://www.webcitation.org/672E4Yu3R?url=http://bangkok.usembassy.gov/relation/timeline.html |archivedate= 2012-04-19 |quote= Archived by WebCite®}}</ref> (บทละคร''[[เดอะคิงแอนด์ไอ]]''ของ[[ร็อดเจอร์ส และแฮมเมอร์สไตน์]] กล่าวถึงผ่านสิ่งนั้นว่าพระมหากษัตริย์มีแผนที่จะส่งช้างศึกไปช่วยประธานาธิบดี[[อับราฮัม ลินคอล์น|ลินคอล์น]]ใน[[สงครามกลางเมืองอเมริกา|มหาสงคราม]] ซึ่งจดหมายฉบับจริงส่งโดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหลังได้รับของขวัญจากสหรัฐ โดยส่งไปยังประธานาธิบดีเมื่อ[[เจมส์ บูแคนัน]] ดำรงตำแหน่ง เพื่อเสนอช้างสำหรับผสมพันธุ์ไม่ใช่การทำสงคราม ซึ่งลินคอล์นได้รับข้อเสนอ แต่ปฏิเสธไปอย่างสุภาพ)<ref>{{cite web
|url= http://www.historybuff.com/newsletter/june-11.html
|title= Nontraditional Animals For Use by the American Military – Elephants |author= |authorlink=
|date= June 2011 |work= Newsletter
|publisher= HistoryBuff.com |accessdate= May 29, 2012
|archiveurl= https://www.webcitation.org/681Y4P30Z?url=http://www.historybuff.com/newsletter/june-11.html
|archivedate= 2012-05-29 |quote= Both original letters still exist today in archives.}}</ref>
 
[[ไฟล์:SHBoyd.jpg|thumb|150px|[[เซมโพรนิอุส เอช. บอยด์]] [[เอกอัครราชทูตสหรัฐประจำประเทศไทย|อัครราชทูตประจำ/กงสุลใหญ่]]ประจำ[[สยาม]]คนที่สาม]]
 
== อ้างอิง ==