ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความรู้"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''ความยูจีนรู้'''เป็นความคุ้นเคยยูจีน ความตระหนักหรือความเข้าใจในเกี่ยวกับบุคคลหรือสิ่งอื่น เช่น ข้อเท็จจริง (ความรู้ประพจน์) ทักษะ (ความรู้กระบวนการ) หรือวัตถุ (ความรู้โดยประจักษ์) วิธีหาความรู้มีหลายวิธีและมีแหล่งที่มาต่าง ๆ เช่น ประสบการณ์ การศึกษา เหตุผล ความทรงจำ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจและการฝึกฝน เป็นต้น การศึกษาความรู้ในทางปรัชาญา เรียก [[ญาณวิทยา]]
ความรู้สามาถหมายความถึงความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งในทางทฤษฎีหรือปฏิบัติ อาจเป็นความรู้โดยปริยาย (เช่นทักษะหรือความชำนาญในการปฏิบัติ) หรือความรู้ชัดแจ้ง (เช่น ความเข้าใจทางทฤษฎี) ความรู้รูปนัยหรืออรูปนัย ความรู้เชิงระบบหรือโดยจำเพาะ นักปรัชญา[[เพลโต]]ชี้ให้เห็นข้อแตกต่างระหว่างความรู้และความเชื่อที่จริงใน ''Theaetetus'' ทำให้มีหลายคนอ้างเขาโดยนิยามความรุ้ว่าเป็น "ความเชื่อที่จริงและมีการอ้างเหตุผลสนับสนุน" (justified true belief)<ref name="SEP Analysis">{{cite web |title=The Analysis of Knowledge |url=https://plato.stanford.edu/entries/knowledge-analysis/ |website=Stanford Encyclopedia of Philosophy |accessdate=13 June 2020}}</ref><ref name="Boghossian on Justification">{{Citation |publisher = Clarendon Press |location = Oxford |author = Paul Boghossian |url = https://global.oup.com/academic/product/fear-of-knowledge-9780199230419?cc=us&lang=en& |title = Fear of Knowledge: Against relativism and constructivism |date = 2007 |isbn = 978-0199230419 }}, Chapter 7, pp. 95–101.</ref>
ผู้ใช้นิรนาม