ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โขน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ขี้
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 15:
| Soundtrack = เพลงหน้าพาทย์
| Note =
}}'''โขน''' เป็น[[ศิลปะการแสดง]]ชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบ[[ละครใน]] แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่ม[[นักแสดง|ตัวแสดง]] เปลี่ยน[[ทำนองเพลง]]ที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่เหมือนกับ[[ละคร]] แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน<ref>[http://www.thaifolk.com/Doc/perform2.htm ความเหมือนและความแตกต่างของโขนและละครใน]</ref> มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัย[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref>[http://personal.swu.ac.th/students/fa471010166/khon1.htm ประวัติและความเป็นมาของโขนในสมัยกรุงศรีอยุธยา]</ref> จากหลักฐาน[[จดหมายเหตุลาลูแบร์|จดหมายเหตุลาลูแ]]ขี้ขี้ขี้ขี้ขี้ขี้ชี้ขี้ชี้ข้ส้สะสะสดสดดสดสดดสดสดดสดสดสดพสดสดสดดสดสดสดสดดสดสดสดสพสดาดาดดาดาดสดนดนดดสดและถือ[[อาวุธ]]<ref name="ว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของ[[ชาวไทย|ชาวสยาม]]">ว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของ[[ชาวไทย|ชาวสยาม]], มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย : มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย : สันต์ ท. โกมลบุตร, สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2548, หน้า 157</ref>
 
โขนเป็นจุดศูนย์รวมของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนงเช่น [[วรรณกรรม]] วรรณศิลป์ [[นาฏศิลป์]] คีตศิลป์ หัตถศิลป์<ref name="คำนำการแสดงโขนชุดนางลอย">คำนำการแสดงโขนชุดนางลอย, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด นางลอย, [[มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]], ระหว่างวันที่ 19 -20 และ 22 -24 พฤศจิกายน 2553, หอประชุมใหญ่ [[ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย]]</ref> โดยนำเอาวิธีเล่นและการแต่งตัวบางชนิดมาจากการเล่น[[ชักนาคดึกดำบรรพ์]]<ref>[http://personal.swu.ac.th/students/fa471010255/knone1.html กำเนิดโขน]</ref> มีท่าทางการต่อสู้ที่โลดโผน ท่ารำ ท่าเต้นเช่น ท่าปฐมในการ[[ไหว้ครู]]ของ[[กระบี่กระบอง]] รวมทั้งการนำศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์และ[[เพลง]][[ดนตรี]]เข้ามาประกอบการแสดง<ref>[http://student.swu.ac.th/sc501010561/index.html รอบรู้เรื่องโขน]</ref> ในการแสดงโขน ลักษณะสำคัญอยู่ที่ผู้แสดงต้องสวม[[หัวโขน]] ซึ่งเป็นเครื่องสวมครอบหุ้มตั้งแต่[[ศีรษะ]]ถึง[[คอ]] เจาะรูสองรูบริเวณ[[ดวงตา]]ให้สามารถมองเห็น แสดงอารมณ์ผ่านทางการร่ายรำ สร้างตามลักษณะของตัวละครนั้น ๆ เช่น [[ยักษ์|ตัวยักษ์]] [[ลิง|ตัวลิง]] [[เทวดา|ตัวเทวดา]] ฯลฯ ตกแต่งด้วย[[สี]] ลงรักปิด[[ทอง]] ประดับกระจก บ้างก็เรียกว่าหน้าโขนทา
 
ในสมัยโบราณราณ ตัวพระและตัวเทวดาต่างสวมหัวโขนในการแสดง ต่อมาภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงไม่ต้องสวมหัวโขน คงใช้[[หน้า|ใบหน้า]]จริงเช่นเดียวกับ[[ละคร]] แต่งกายแบบเดียวกับละครใน เครื่องแต่งกายของตัวพระและตัวยักษ์ในสมัยโบราณมักมีสองสีคือ สีหนึ่งเป็นสีเสื้อ อีกสีหนึ่งเป็นสีแขนโดยสมมุติแทน[[ชุดเกราะ|เกราะ]] เป็นลายหนุนประเภทลายพุ่ม หรือ[[ลายกระจัง]]ตาอ้อย ส่วนเครื่องแต่งกายตัว[[ลิง]]จะเป็นลายวง[[ทักษิณาวรรต]]<ref>[http://www.cp.eng.chula.ac.th/cg/khon_web/khon_archive/costume_main.php?partid=00050100000000000000# เครื่องแต่งกายยืนเครื่องโขน]</ref> โดยสมมุติเป็น[[ขนสัตว์|ขน]]ของ[[ลิง]]หรือ[[หมี]] ดำเนินเรื่องด้วยการกล่าวคำนำเล่าเรื่องเป็น[[ทำนอง]]เรียกว่าพากย์อย่างหนึ่ง กับเจรจาเป็นทำนองอย่างหนึ่ง ใช้[[กาพย์ยานี]]และ[[กาพย์ฉบัง]]<ref>[http://www.snr.ac.th/elearning/orrawan-thai/page9.html บทพากย์ในการแสดงโขน]</ref> โดยมีผู้ให้เสียงแทนเรียกว่าผู้พากย์และเจรจา มีต้นเสียงและลูกคู่ร้องบทให้<ref>[http://student.swu.ac.th/sc501010561/index.html การพากย์ การเจรจาในโขน]</ref> ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่อง[[รามเกียรติ์]]และ[[อุณรุท]] ปัจจุบัน[[สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์]]มีหน้าที่หลักในการสืบทอดการฝึกหัดโขน และ[[กรมศิลปากร]] มีหน้าที่ในการจัดการแสดง<ref name="คำนำการแสดงโขนชุดพรหมมาศ">คำนำการแสดงโขนชุดพรหมมาศ, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด พรหมมาศ, [[มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]], ระหว่างวันที่ 25 และ 27 -28 ธันวาคม 2550, หอประชุมใหญ่ [[ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย]]</ref>
 
== ประวัติ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โขน"