ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8959598 สร้างโดย 184.22.119.53 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น|คำเรียกประเทศไทยในอดีต}}
{{ดูเพิ่มที่|ไทย (แก้ความกำกวม)}}
'''สยาม''' ([[อักษรละติน]]: Siam, [[อักษรเทวนาครี]]: श्याम) เป็นชื่อที่ต่างชาติใช้เรียก[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลางของประเทศไทย]]ในอดีตและมักรวมถึงชาว[[ไทยสยาม]]ซึ่งเป็นชนชาติไทยในภูมิภาคนี้ แต่มิใช่ชื่อคนกลุ่มนี้เรียกตนเอง [[ราชบัณฑิตยสถาน]] ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ<ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ </ref> สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เป็นต้นมา<ref name="ททท"/> ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 พระมหากษัตริย์ไทยทรงใช้ชื่อ "สยาม" ในการทำสนธิสัญญากับต่างชาติเป็นเวลาหลายศตวรรษ เนื่องจากราชอาณาจักรประกอบด้วยคนหลายชาติพันธุ์ อาทิ ไท ลาว มอญ ญวน เขมร แขก จีน ฝรั่ง และมลายู พระมหากษัตริย์ไทยจึงเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า ประเทศสยาม เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน<ref>ศิริพันธ์ ถาวรทวีวงษ์. หน้า 20.</ref> อีกทั้ง ชื่อ ''สยาม'' นั้น ก็ยังคงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในวงการวิชาการของต่างประเทศอีกด้วย{{อ้างอิง}}
[[ไฟล์:Flag of Siam (1855).svg|thumb|ທຸງຊ້າງເຜືອກ ທຸງຊາດສະຫຍາມ ພ.ສ. 2398 - 31 ທັນວາ ພ.ສ. 2459|ธงชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459]]
'''สยาม''' ([[อักษรละติน]]: Siam, [[อักษรเทวนาครี]]: श्याम) เป็นชื่อที่ต่างชาติใช้เรียก[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลางของประเทศไทย]]ในอดีตและมักรวมถึงชาว[[ไทยสยาม]]ซึ่งเป็นชนชาติไทยในภูมิภาคนี้ แต่มิใช่ชื่อคนกลุ่มนี้เรียกตนเอง [[ราชบัณฑิตยสถาน]] ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ<ref>พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ </ref> สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เป็นต้นมา<ref name="ททท"/> ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 พระมหากษัตริย์ไทยทรงใช้ชื่อ "สยาม" ในการทำสนธิสัญญากับต่างชาติเป็นเวลาหลายศตวรรษ เนื่องจากราชอาณาจักรประกอบด้วยคนหลายชาติพันธุ์ อาทิ ไท ลาว มอญ ญวน เขมร แขก จีน ฝรั่ง และมลายู พระมหากษัตริย์ไทยจึงเรียกดินแดนแห่งนี้ว่า ประเทศสยาม เพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประชาชน<ref>ศิริพันธ์ ถาวรทวีวงษ์. หน้า 20.</ref> อีกทั้ง ชื่อ ''สยาม'' นั้น ก็ยังคงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในวงการวิชาการของต่างประเทศอีกด้วย{{อ้างอิง}}
 
ในปัจจุบันมีความพยายามที่จะเปลี่ยนชื่อประเทศไทย กลับไปเป็นสยาม{{อ้างอิง}} แต่จะเห็นว่าคนไทยเดิมไม่เรียกตัวเองว่า สยาม กลับเป็นคนกลุ่มมอญ-เขมร ที่เรียกคนที่ใช้ภาษาตระกูลไท-ลาว เดี๋ยวนี้ชาวบรู (มอญ-เขมร) ในเขตมุกดาหาร เรียกพวกผู้ไทว่า "เซียม" รวมถึงในเขตจีน-พม่า คนไท มักถูกพวกละว้า เรียกว่าเซียม และโดยลักษณะการเรียกชื่อชนชาติอื่น เหมือนที่จีนเรียกพวกไท ว่า ไป่เยว่ หรือลาว เรียกพวกที่พูดภาษามอญ-เขมร ในลาว ว่า "ข่า" เป็นต้น{{อ้างอิง}}
เส้น 63 ⟶ 62:
 
=== จากสยามเป็นไทย ===
ในสมัยรัฐบาลจอมพล [[แปลก พิบูลสงคราม]] ก้าวขึ้นสู่อำนาจ ปลุกแนวคิด[[ชาตินิยม]]และการเชื่อฟังผู้นำอย่างมาก ซึ่งจากรายงานการศึกษาในยุคนั้นโดยนักศึกษาประวัติศาสตร์บางคน{{อ้างอิง}} ได้มีการค้นพบคนไทยที่อยู่ในเวียดนามและจีนตอนใต้ นอกเหนือไปจากจากกลุ่มไทใหญ่ในพม่า ทำให้เกิดกระแสที่ต้องการรวบรวมชนเผ่าไทยเหล่านั้นเข้ามาสู่ประเทศ "ไทย" เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ในที่สุดจึงได้มีการเปลี่ยนชื่อ ประเทศ ประชาชน และสัญชาติเป็น "ไทย" ตามประกาศ[[รัฐนิยม]]ฉบับที่ 1 เมื่อวันที่ [[24 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2482]] ซึ่งได้รับการคัดค้านจากบางฝ่ายว่าจะเป็นการทำให้คนเชื้อชาติอื่น เช่น [[ประเทศจีน|จีน]] [[มลายู]] ไม่รู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับประเทศ "ไทย" แต่ทว่าในที่สุดประกาศรัฐนิยมก็มีผลบังคับใช้ ทำให้ต้องเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น ''ไทย'' ดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งกลายเป็นสิ่งตกทอดไม่กี่อย่างจากประกาศดังกล่าวมาถึงปัจจุบัน เช่นเดียวกับคำว่า "[[สวัสดี]]" ทั้งนี้ คำประกาศดังกล่าวมีขึ้นหลังญี่ปุ่นยอมจำนนต่อสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เพียงไม่ถึง 1 เดือน ซึ่งชาญวิทย์ เกษตรศิริ มองว่าเป็น “สารที่ผู้นำไทยอีกฝ่ายหนึ่ง คือ ฝ่ายเสรีนิยมของ ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับฝ่ายอนุรักษ์นิยม (เจ้านาย) ต้องการสื่อกับฝรั่งตะวันตกผู้พิชิตสงครามเสียมากกว่า” แต่เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม กลับมามีอำนาจอีกครั้งผ่านการรัฐประหาร ในปี 2490 ชื่อประเทศไทยในภาษาอังกฤษ ก็ถูกเปลี่ยนกลับไปใช้ว่า “Thailand” อีกครั้งThaila
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== บรรณานุกรม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สยาม"