ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รักร่วมเพศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sittathakhot (คุย | ส่วนร่วม)
คำว่า "ร่วมเพศ" เป็นคำเหยียดเพศสภาพ และหยาบคายอย่างไม่เหมาะสม คำว่า "ร่วมเพศ" หมายถึงการมีเซ็กส์หรือมีเพศสัมพันธ์กัน โดยสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทยได้สนับสนุนให้เลิกใช้คำว่า "รักร่วมเพศ" เพราะไม่ว่าจะเป็นเพศชาย-หญิงปกติั้ หรือแม้แต่ไบเซ็กชวล ต่างก็ร่วมเพศด้วยกันทั้งสิ้น คำว่าร่วมเพศนี้หมายถึงการมีเซ็กส์หรือร่วมสมสู่หลับนอนกัน ดังนั้นมิได้มีแต่คนรักเพศเดียวกันเท่านั้นที่ร่วมเพศซึ่งกันและกัน คำว่า รักร่วมเพศ จึงเป็นคำหยาบคายซึ่งมีการรณรงค์ให้เลิกใช้ และหันมาใช้คำว่า กลุ่มคน "รักเพศเดียวกันแทน"
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Homosexuality symbols.svg|thumb|สัญลักษณ์ของชาวรักร่วมเพศ โดย ชายรักชาย (ขวา) และหญิงรักหญิง (ซ้าย)]]
 
'''กลุ่มคนรักร่วมเพศเพศเดียวกัน''' ({{lang-en|homosexuality}})<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิต สาขาแพทยศาสตร์] ให้ความหมาย homosexual ว่า -รักร่วมเพศ</ref> หมายถึงพฤติกรรมทางเพศหรือความสนใจของคนในเพศเดียวกันหรือรสนิยมทางเพศ ในเรื่องรสนิยมทางเพศหมายถึง "มีเพศสัมพันธ์หรือความรักในทางโรแมนติกพิเศษกับบุคคลในเพศเดียวกัน" และยังหมายถึง "ความรู้สึกส่วนตัวและการแสดงออกทางสังคมโดยยึดจากความชอบ พฤติกรรมที่พวกเขาแสดงออก และการเป็นสมาชิกในกลุ่มสังคมเดียวกันของพวกเขา"<ref name="apahelp">{{citation |url=http://www.apahelpcenter.org/articles/article.php?id=31 |title=Sexual Orientation and Homosexuality |periodical=[[American Psychological Association|APA]]HelpCenter.org |accessdate=2007-09-07}}</ref><ref name="brief">[http://www.courtinfo.ca.gov/courts/supreme/highprofile/documents/Amer_Psychological_Assn_Amicus_Curiae_Brief.pdf APA California Amicus Brief]</ref> กลุ่มคนรักร่วมเพศเพศเดียวกัน, [[ไบเซ็กชวล]] และกลุ่มคน[[รักต่างเพศ]] ถือเป็นกลุ่มคนหลัก 3 ประเภทของ[[รสนิยมทางเพศ]] สัดส่วนของประชากรที่เป็นกลุ่มคนรักเพศเดียวกันค่อนข้างยากที่จะประเมิน<ref name="levay">LeVay, Simon (1996). ''Queer Science: The Use and Abuse of Research into Homosexuality.'' Cambridge: The MIT Press ISBN 0-262-12199-9 </ref> แต่ส่วนใหญ่จากการที่ศึกษาในปัจจุบันอัตราอยู่ที่ 2–7%<ref name=ACSF1992>ACSF Investigators (1992). AIDS and sexual behaviour in France. ''Nature, 360,'' 407–409.</ref><ref name=Billy1993>Billy, J. O. G., Tanfer, K., Grady, W. R., & Klepinger, D. H. (1993). The sexual behavior of men in the United States. ''Family Planning Perspectives, 25,'' 52–60.</ref><ref name=Binson1995>Binson, D., Michaels, S., Stall, R., Coates, T. J., Gagnon, & Catania, J. A. (1995). Prevalence and social distribution of men who have sex with men: United States and its urban centers. ''Journal of Sex Research, 32,'' 245–254.</ref><ref name=Bogaert2004>Bogaert, A. F. (2004). The prevalence of male homosexuality: The effect of fraternal birth order and variation in family size. ''Journal of Theoretical Biology, 230,'' 33–37.</ref><ref name=Fay1989>Fay, R. E., Turner, C. F., Klassen, A. D., & Gagnon, J. H. (1989). Prevalence and patterns of same-gender sexual contact among men. ''Science, 243,'' 338–348.</ref><ref name=Johnson1992>Johnson, A. M., Wadsworth, J., Wellings, K., Bradshaw, S., & Field, J. (1992). Sexual lifestyles and HIV risk. ''Nature, 360,'' 410–412.</ref><ref name=Laumann1994>Laumann, E. O., Gagnon, J. H., Michael, R. T., & Michaels, S. (1994). ''The social organization of sexuality: Sexual practices in the United States.'' Chicago: University of Chicago Press.</ref><ref name=Sell1995>Sell, R. L., Wells, J. A., & Wypij, D. (1995). The prevalence of homosexual behavior in the United States, the United Kingdom and France: Results of national population-based samples. ''Archives of Sexual Behavior, 24,'' 235–248.</ref><ref name=Wellings1994>Wellings, K., Field, J., Johnson, A., & Wadsworth, J. (1994). ''Sexual behavior in Britain: The national survey of sexual attitudes and lifestyles.'' London, UK: Penguin Books. </ref> แต่อย่างไรก็ตามจากการสำรวจในกลุ่มคน[[ชาวนอร์เวย์]] พบว่ามีกลุ่มคนรักเพศเดียวกัน 12%<ref>http://www.aftenposten.no/english/local/article633160.ece</ref>
 
สาเหตุของการเกิดพฤติกรรมรักเพศเดียวกันยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ซึ่งจากการศึกษาพี่น้องฝาแฝดที่เป็นเกย์ทั้งคู่ โดย Dean Halmer นักพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล แห่ง[[สถาบันสุขภาพแห่งชาติ]] รัฐแมรีแลนด์ สหรัฐอเมริกา พบว่าอาจจะเกิดจากพันธุกรรมที่[[โครโมโซม]] ตำแหน่ง Xq28<ref>[http://www.pantip.com/cafe/book_stand/duangjaipoemae/s4803.html เกย์-เลสเบียน ทางสายที่สามถ้าลูกเลือกเดิน]</ref> อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์เองก็ยังถกเถียงเกี่ยวกับยีนตัวนี้อยู่เช่นกัน ซึ่งงานวิจัยใหม่นั้นพบว่าผลที่ออกมาขัดแย้งกับผลการศึกษาเดิม และไม่สามารถสรุปได้อย่างชัดเจน<ref>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/science/nature/325979.stm Doubt cast on 'gay gene']</ref>
 
ปัจจุบันได้มีคำศัพท์ใหม่ ๆ เกิดขึ้นเพื่อเป็นการสร้างพื้นที่ให้แก่เพศวิถีต่าง ๆ เช่น "ความหลากหลายทางเพศ"<ref>งานประชุมวิชาการ “เพศภาวะและสิทธิในเอเชีย: การประชุมครั้งแรกว่าด้วยเควียร์ศึกษา” (Sexualities, Genders, and Rights in Asia: 1st International Conference of Asian Queer Studies) จัดโดย โครงการจัดตั้งสำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษาและพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และเครือข่ายเควียร์แห่งภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก ระหว่างวันที่ 7 – 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพมหานคร</ref> หรือ "[[กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ]]"<ref>ธเนศว์ กาญธีรานนท์, [http://www.redcross.or.th/pr/pr_news.php4?db=3&naid=844 ถึงเวลาที่รัฐธรรมนูญไทย จะเพิ่มพื้นที่ให้แก่กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBT)] ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย</ref> เนื่องจากมีความหมายที่ครอบคลุมและตรงตัวกว่าคำว่า “รักร่วมเพศ” ที่อาจถูกตีความว่าบุคคลประเภทนี้ให้ความสำคัญต่อการมีเพศสัมพันธ์ อย่างไรอีกทั้งคำว่า "ร่วมเพศ" ก็มีนัยยะที่แปลความหมายได้ว่า "การมีเพศสัมพันธ์กัน" ซึ่งมีความเป็นจริง มิได้มีแต่กลุ่มคนรักเพศเดียวกันเท่านั้นที่มีการร่วมเพศหรือมีเพศสัมพันธ์กัน แต่ความรักของชาย-หญิง หรือความรักต่างเพศ และแม้กระทั่งความรักสองเพศโดยปกตก็ ต่างก็มีการร่วมเพศด้วยกันทั้งสิ้น ซึ่่งอย่างไรก็ตาม คำว่าความหลากหลายทางเพศนั้น อาจหมายความรวมถึงผู้ที่มีรสนิยม[[รักสองเพศ]]ด้วย
 
== ภาพรวม ==