ผู้ใช้นิรนาม
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
Komasan1997 (คุย | ส่วนร่วม) ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 5:
'''ระบอบการปกครอง''' (form of government) หมายถึง สถาบันทางการเมืองซึ่งรัฐบาลของรัฐได้จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้อำนาจในการปกครองประเทศ<ref>http://assets.cambridge.org/052184/3162/excerpt/0521843162_excerpt.pdf Kopstein and Lichbach, 2005</ref> คำนี้ยังนิยามรวมไปถึงรัฐบาลที่ไม่ประสบความสำเร็จในการใช้อำนาจปกครองประเทศด้วย
==เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์ของรัฐ==
== คุณสมบัติของรัฐบาล ==▼
'''เจตจำนงแห่งรัฐ''' (Will of the state)<ref> [http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:165890 อภิชาติ คุณวัฒน์บัณฑิต.“ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติของประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561.] </ref> เป็นเกณฑ์หนึ่งในทางรัฐศาสตร์ที่อธิบายถึงเป้าหมายของระบอบการปกครองในแต่ละรูปแบบ นับตั้งแต่การเป็นชุมชนทางการเมืองที่เป็นระบบจนพัฒนามาสู่การเป็นรัฐสมัยใหม่ เมื่อพิจารณาจากพัฒนาการของรัฐสมัยใหม่นับตั้งแต่สมัยกลางเป็นต้นมา เจตจำนงหรือวัตถุประสงค์ของรัฐในแต่ละยุคเกิดขึ้นจากบริบททางสังคม ปรัชญา อุดมการณ์ทางการเมือง ศาสนา ตลอดจนโลกทัศน์ของคนแต่ละยุคสมัยแตกต่างกัน ซึ่งแต่ละแนวคิดจะเน้นความสำคัญของปัจเจกบุคคลในระดับความเข้มข้นแตกต่างกัน ในยุคคลาสสิค และยุคกลางเจตจำนงแห่งรัฐจะมีความมีเสถียรภาพอันมีเป้าหมายในการสนับสนุนสถาบันกษัตริย์ และสถาบันศาสนา ส่วนในยุคสมัยใหม่เจตจำนงแห่งรัฐจะมีความเป็นพลวัตรและปรับตัวให้เข้ากับยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไปผ่านการแสดงเจตจำนงผ่านการเลือกตั้งของประชาชน โดยกระบวนการสร้างรัฐสมัยใหม่นี้ต้องใช้ระบบกฎหมายสนับสนุนจึงจะดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพตามแนวคิดความสูงสุดแห่งอำนาจอธิปไตยที่เป็นของประชาชนที่ทำให้รัฐสามารถบัญญัติกฎหมายได้อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด อันเป็นการสามารถสะท้อนเจตจำนงทางการเมืองของประชาชน และมีความเป็นพลวัตรต่อเนื่องไปอยู่เสมอ
▲== คุณสมบัติของรัฐบาล ==
นอกเหนือจากการจัดแบ่งประเภทอย่างเป็นทางการแล้ว ระบอบการปกครองยังสามารถแบ่งได้ตามรูปแบบโดยทั่วไปของรัฐบาล อย่างเช่น:
* [[เอกาธิปไตย]] [[คณาธิปไตย]] หรือ[[ประชาธิปไตย]]
|