ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮาเกียโซเฟีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 45:
โบสถ์นี้ถูกอุทิศแก่ ''[[ภูมิปัญญาศักดิ์สิทธิ์]]'' คือ[[โลกอส (ศาสนาคริสต์)|โลกอส]] บุคคลที่สองใน[[ตรีเอกภาพ]]<ref name="ja4712">Janin (1953), p. 471.</ref> โดยมีการฉลองในวันที่ 25 ธันวาคม ([[วันคริสต์มาส]]) ''โซฟีอา'' เป็นการสะกดตามสัทศาสตร์ใน[[ภาษาลาติน]]จากภาษากรีกของคำว่า ความฉลาด และบางครั้งอิงถึง ซังก์ตา โซฟีอา ({{Lang-la|Sancta Sophia|lit=Saint Sophia|label=none}}) ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ[[โซเฟียแห่งโรม]]<ref name="Binns20022">{{cite book|last=Binns|first=John|url=https://books.google.com/books?id=MOA5vfSl3dwC&pg=PA57|title=An Introduction to the Christian Orthodox Churches|publisher=Cambridge University Press|year=2002|isbn=978-0-521-66738-8|page=57}}</ref><ref name="McKenzieGraham19982">{{cite book|last1=McKenzie|first1=Steven L.|url=https://books.google.com/books?id=owwhpmIVgSAC&pg=PA149|title=The Hebrew Bible Today: An Introduction to Critical Issues|last2=Graham|first2=Matt Patrick|publisher=Westminster John Knox Press|year=1998|isbn=978-0-664-25652-4|page=149}}</ref> เป็นศูนย์กลางของ[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]]ไปกว่า 1,000 ปี โดยได้ผ่านช่วง[[การตัดขาดจากศาสนา]]ของอัครบิดร[[มีคาเอลที่ 1 เซรูลารีอุส]]โดย[[อัมแบร์แห่งซิลวาคันดิดา]] ผู้แทนทางทูตของ[[สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 9]] ใน ค.ศ. 1054, [[ดยุคแห่งเวนิส]] ผู้ทำให้เกิด[[สงครามครูเสดครั้งที่สี่]] และ[[การปล้นสดมที่คอนสแตนติโนเปิล]]ใน ค.ศ. 1204
 
ใน ค.ศ. 1453 [[สุลต่านเมห์เหม็ดผู้พิชิต]]ทรงสั่งให้เปลี่ยนอาสนวิหารไปเป็นมัสยิด เขตอัครบิดรถูกย้ายไปที่[[Church of the Holy Apostles]] ซึ่งกลายเป็นอาสนวิหารประจำเมือง ถึงแม้ว่าบางส่วนของเมืองพังทลายจนไม่สามารถซ่อมแซมได้ ตัวอาสนวิหารยังคงทำหน้าที่นี้ต่อไป และมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักในการเปลี่ยนแปลงของผู้นำออตโตมันองค์ใหม่<ref name="http://www.livescience.com/27574-hagia-sophia.html2">[http://www.livescience.com/27574-hagia-sophia.html]. LiveScience.</ref><ref name="archnet.org2">"[http://archnet.org/library/sites/one-site.jsp?site_id=2966 Hagia Sophia] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090105062813/http://archnet.org/library/sites/one-site.jsp?site_id=2966|date=5 January 2009}}." ArchNet.</ref> [[ระฆังโบสถ์|ระฆัง]], [[แท่นบูชา]], ไอโคโนสเตซิส, [[แอมบอน (พิธีสวด)|แอมบอน]] และ[[หอล้างบาป]]ถูกนำออกไปและเรลิกก็ถูกทำลาย ส่วน[[โมเสก]]ที่มีภาพพระเยซู, [[พระแม่มารีย์]], [[นักบุญ]] และ[[เทวทูต]]ถูกทำลายหรือใช้ปูนทาทับ<ref name="mw91">Müller-Wiener (1977), p. 91.</ref> แล้วมีการ[[สถาปัตยกรรมอิสลาม|เพิ่มสถาปัตยกรรมอิสลาม]] เช่น [[มินบัรมบัร]] (แท่นเทศน์), [[มินาเรต]]สี่อัน และ[[มิฮ์รอบ]]
 
ตัวอาคารยังคงเป็นมัสยิด จนถึงค.ศ. 1931 เมื่อมันถูกปิดต่อสาธารณชนเป็นเวลา 4 ปี และเปิดใหม่อีกครั้งใน ค.ศ. 1935 ในฐานะพิพิธภัณฑ์ จาก{{As of|2014|lc=y}} ฮาเกียโซฟีอาเคยเป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีผู้เข้าชมมากเป็นอันดับสอง โดยมีผู้เยี่ยมชมเกือบ 3.3 ล้านคนต่อปี<ref name="mus">{{cite news|date=10 November 2014|title=Top 10: Turkey's most visited museums|work=[[Hürriyet Daily News]]|url=http://www.hurriyetdailynews.com/top-10-turkeys-most-visited-museums.aspx?pageID=238&nID=74133&NewsCatID=385}}</ref> รายงานจากข้อมูลของ[[กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว (ประเทศตุรกี)|กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว]] ฮาเกียโซฟีอาเคยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดใน ค.ศ. 2015<ref>{{cite news|title=Hagia Sophia still Istanbul's top tourist attraction|publisher=hurriyet|url=http://www.hurriyetdailynews.com/hagia-sophia-still-istanbuls-top-tourist-attraction.aspx?pageID=238&nID=94210&NewsCatID=379}}</ref> และค.ศ. 2019<ref>{{cite web |url=https://www.bbc.com/news/world-europe-53366307 |title=Hagia Sophia: Turkey turns iconic Istanbul museum into mosque |date=10 July 2020 |publisher=BBC News |access-date=11 July 2020 |quote=President Erdogan stressed that the country had exercised its sovereign right in converting it back to a mosque. He told a press conference the first Muslim prayers would be held inside the building on 24 July.}}</ref><ref>{{cite news|title=Hagia Sophia still top tourist attraction|publisher=hurriyet|url=https://www.hurriyetdailynews.com/hagia-sophia-still-top-tourist-attraction-151702#photo-1}}</ref>