ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงโคจรค้างฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ภาพ:Geostationaryjava3D.gif|200px|thumb|right|วงโคจรค้างฟ้าจากมุมมองด้านบน ซึ่งดาวเทียมทั้งสองจะอยู่ตำแหน่งเติมตลอดเมื่อมองจากพื้นโลก]]
[[ภาพ:GeostationaryjavaGeostationarva3Dsideview.gifgimmmmmmmzmmmm.|200px|thumb|วงโคจรค้างฟ้าจากมุมมองด้านข้าง]]
 
'''วงโคจรค้างฟ้า''' ({{lang-en|geostationary orbit หรือ Geostationary Earth Orbit , อักษรย่อ: '''GEO'''}}) เป็นวงโคจรที่มีระยะทางห่างจากพื้นโลก 35,786 กิโลเมตร (22,236 ไมล์) ขึ้นไปเหนือ[[เส้นศูนย์สูตร]]ของโลก มีทิศทางการโคจรทวนเข็มนาฬิกาเหมือนทิศทางการหมุนของโลก วัตถุที่อยู่ในวงโคจรดังกล่าวจะมี[[คาบการโคจร]]เกือบเท่ากับของโลก คือ 23 ชั่วโมง 56 นาที 4 วินาที และนั่นเองทำให้เมื่อสังเกตวัตถุที่อยู่ในวงโคจรนี้จากโลก วัตถุจะปรากฏนิ่งในตำแหน่งเดิมตลอดเวลา เราจึงเรียก[[ดาวเทียม]]ในวงโคจรค้างฟ้านี้ว่า '''[[ดาวเทียมประจำที่]]''' ซึ่งส่วนมากเป็น [[ดาวเทียมสื่อสาร]] และ [[ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา]] วงโคจรที่มีลักษณะใกล้เคียงกับวงโคจรค้างฟ้าคือ '''[[วงโคจรพ้องคาบโลก]]''' ที่แตกต่างกันตรงที่ไม่ได้โคจรในระนาบเดียวกับเส้นศูนย์สูตร
บรรทัด 7:
 
นอกจากนี้ ยังมีแนวคิดในการใช้ประโยชน์จากวงโคจรค้างฟ้า ในการสร้าง[[ลิฟต์อวกาศ]] อีกด้วย
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}