ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาซิกข์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 31:
== คัมภีร์ ==
สำหรับชาวซิกข์แล้ว มีคัมภีร์หลักสำคัญเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้นคือ [[คุรุกรันตสาหิบ]] หรือ คุรุครันถ์ซาฮิบ (Guru Granth Sahib) บางครั้งก็เรียกอีกชื่อว่า อาทิกรันตะ หรือ อาทิ ครันถ์ (Ādi Granth)<ref name=shacklexvii/> ตามกาลภาพจริง ๆ แล้ว “อาทิกรันตะ” (แปลตรงตัวว่า ฉบับแรก) หมายถึงคัมภีร์ชิ้นแรกที่เขียนขึ้นโดย[[คุรุอรชุน]] เมื่อ ค.ศ. 1604<ref>William Owen Cole and Piara Singh Sambhi (1995), The Sikhs: Their Religious Beliefs and Practices, Sussex Academic Press, {{ISBN|978-1898723134}}, pp. 45–46</ref> ส่วนคุรุกรันตสาหิบหมายถึงคัมภีร์รุ่นสุดท้ายที่เพิ่มเติมและรวบรวมจนสมบูรณ์โดย[[คุรุโควินทสิงห์]]<ref name=shacklexvii/><ref>William Owen Cole and Piara Singh Sambhi (1995), The Sikhs: Their Religious Beliefs and Practices, Sussex Academic Press, {{ISBN|978-1898723134}}, pp. 49–50</ref> คุรุกรันตสาหิบนั้นยกย่องให้เป็นคัมภีร์ที่เชื่อส่าจริงเสมอตลอดกาล (อกาล) และไม่สามารถโต้แย้งได้ (unquestionable) อย่างไรก็ตามศาสนาซิกข์ก็มีคัมภีร์อีกเล่มที่ยกย่องให้ว่าสำคัญเป็นอันดับสอง คือ “[[ทสัมกรันตะ]]” หรือ ทาซาม ครันถ์ (Dasam Granth)<ref name=shacklexvii>Christopher Shackle and Arvind Mandair (2005), Teachings of the Sikh Gurus, Routledge, {{ISBN|978-0415266048}}, pp. xvii–xx</ref>
 
== นิกาย==
{{หลัก|นิกายในศาสนาซิกข์}}
{{ต้องการอ้างอิงส่วน}}
ในศาสนาซิกข์แบ่งออกเป็นหลายนิกาย แต่มีนิกายที่สำคัญ ๆ ๒ นิกาย คือ
[[นิกายนานักปันถิ]] แปลว่า ผู้ปฏิบัติตามธรรมของท่านคุรุนานัก (ศาสดาองค์แรก) ผู้นับถือนิกายนี้จะไม่เข้า[[ปาหุล]] หรือ ล้างบาป และไม่รับ [[ก 5 ประการ|“ก” ทั้ง ๕ ประการ]] <br>
 
[[นิกายนิลิมเล]] แปลว่า นักพรตผู้ปราศจากมลทิน บางแห่งเรียกนิกายนี้ว่า “นิกายขาลสา” หรือ “นิกายสิงห์” ผู้นับ ถือนิกายนี้จะดำเนินตามคำสอนของท่านคุรุโควินทร์สิงห์ (ศาสดาองค์ที่ ๑๐) โดยเฉพาะในเรื่อง[[ปาหุล]] หรือล้างชำระล้าง บาป ให้ตนเป็นผู้บริสุทธิ์ ([[ขาลสา]]) และเมื่อรับ “ก” ทั้ง ๕ แล้วก็ใช้นามสิงห์ต่อท้ายได้<br>
 
[[นิกายอุทาสี]] หมายความว่า ผู้วางเฉยต่อโลก<br>
 
[[นิกายอกาลี]] คือ ผู้บูชาพระผู้เป็นเจ้านิรันดร<br>
 
[[นิกายสุธเร]] คือ นักพรตผู้บริสุทธิ์<br>
 
[[นิกายทิวเนสาธุ]] หมายถึง นักบุญผู้เมา (ในพระเจ้า)<br>
 
[[นิกายริมเลสาธุ]] หมายถึง นักบุญผู้ไม่มีมลทิน<br>
 
[[นิกายนามธารี]] แปลว่า ผู้ทรงไว้ หรือผู้เทิดทูลพระนามของพระเจ้า หรือผู้มั่นอยู่ในนามของพระเจ้า ผู้นับถือนิกายนี้จะแต่งตัวขาวล้วน ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มของมึนเมา ไม่กินเนื้อสัตว์
กระนั้นก็ตามนิกายอื่น ๆ ที่มิได้กล่าวถึงในที่นี้กว่า ๒๐ นิกายล้วนมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย<ref>http://www.dra.go.th/ewtadmin/ewt/dra_buddha/main.php?filename=singh_2</ref>
 
== ศาสนสถาน ==
{{หลัก|คุรุทวารา}}
[[ไฟล์:Gurdwara Sri Guru Singh Sabha-004.jpg|thumb|ภายในครุทวารา[[สมาคมศรีคุรุสิงห์สภา]] [[กรุงเทพมหานคร]]]]
ศาสนสถานของศาสนาซืกข์เรียกว่า '''หีคุรุทวารา''' หรือคนไทยบางคนเรียกว่า '''โบสถ์ซิกข์''', '''วัดซิกข์''' โดยมีศูนย์รวมอยู่ที่วิหารทองคำ "[[หริมันทิรสาหิบ]]" หรือ สุวรรณวิหาร ตั้งอยู่ในเมืองศักดิ์สิทธิ์[[อมฤตสาร์]] ใน[[แคว้นปัญจาบ]] ทางตอนเหนือของ[[ประเทศอินเดีย]] ซึ่งเป็นเมืองที่ตั้งโดย[[คุรุรามดาส]] คุรุศาสดาองค์ที่สาม
 
== ในประเทศไทย ==