ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสวียนจั้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 40:
'''เหี้ยนจึง'''<ref>คำแปลเรื่อง ''ไซอิ๋ว'' ใช้ว่า "เหี้ยนจึง" [พระโสภณอักษรกิจ (เล็ก สมิตะศิริ). (2547). ''ไซอิ๋ว.'' กรุงเทพฯ: ศรีปัญญา. ISBN 9749207769.]
<blockquote>"ฝ่ายพระอาจารย์ฮวดเม้ง...เห็นที่ริมฝั่งมีเด็กน้อยนอนอยู่บนแผ่นกระดาน ก็ให้คิดพิศวงประหลาดใจมาก จึงรีบเดินลงไปที่ทารก แก้ผ้าที่รัดเด็กออก จึงเห็นหนังสือฉบับหนึ่งอยู่บนอกเด็ก พระอาจารย์จึงหยิบหนังสือนั้นมาคลี่ออกอ่านดู ก็รู้มูลเหตุของเด็กนั้นทุกประการ จึงอุ้มเด็กนั้นกลับมายังกุฎีโดยความกรุณา ตั้งชื่อให้เรียกว่า กังลิ้ว แปลว่า ลอยคลอง พระอาจารย์จึงเก็บหนังสือฉบับนั้นซ่อนไว้ แล้วจึงสั่งแก่ศิษย์ทั้งหลายให้เลี้ยงเด็ก...ครั้นจำเนียรกาลมา...พระอาจารย์ฮวดเม้งเห็นเด็กกังลิ้วเติบใหญ่ขึ้นแล้ว ก็ให้ปลงผมบวชเป็นหลวงจีน พระอาจารย์ให้นามว่า เหี้ยนจึง..."</blockquote>
</ref> หรือสำเนียงกลางว่า '''เสวียนจั้ง''' ({{zh-all|c=玄奘|p=Xuánzàng}}; ประมาณ ค.ศ. 602 – 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 664<ref>Sally Hovey Wriggins. ''Xuanzang: A Buddhist Pilgrim on the Silk Road''. Westview Press, 1996. Revised and updated as ''The Silk Road Journey With Xuanzang''. Westview Press, 2003. ISBN 0-8133-6599-6, pp. 7, 193</ref>) หรือที่รู้จักในนิยาย[[ไซอิ๋ว]]ว่า สั'''ถังซัมจั๋งงทำจั๋ง''' ({{lang-zh|唐三藏}}) เป็นพระภิกษุที่บำเพ็ญศีล สมาธิ ปัญญา มาแต่เยาว์ เมื่อเติบใหญ่ขึ้นจึงได้ออกเดินทาง โดยได้เขียนเป็นบันทึกการเดินทางไว้ด้วย ซึ่งเขียนขึ้นในปี พ.ศ. 1183 (ค.ศ. 646) มีชื่อว่า "ต้าถังซีโหยวจี้" (大唐西游记) แปลว่า "จดหมายเหตุการเดินทางสู่ดินแดนตะวันตกของมหาราชวงศ์ถัง" โดยในนั้นเล่าถึงการเดินทางที่ไปพบปะกับภูมิประเทศที่แตกต่างออกไป สภาพผู้คน วัฒนธรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ รวมไปถึงการทหารและการเมืองการปกครอง โดยการเดินทางไปศึกษาพุทธศาสนาและศาสตร์ความรู้ต่างๆที่ทวีปอินเดีย เมื่อเดินทางกลับมาประเทศจีน ได้นำพระสูตรทั้งมหายานและเถรวาทกลับมาด้วยกว่า 600 ม้วน เพื่อกลับมาแปลเป็นภาษาจีน
 
== ประวัติ ==