ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทอง ณ บางช้าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Aroonsaha (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 60:
* [[เจ้าจอมมารดามา]] ใน[[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]]
 
ทองได้พิราลัยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมา นาค ธิดาของท่านได้รับการสถาปนาเป็น [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] สั้น ภริยาของท่านจึงได้รับการสถาปนาเป็น [[สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี]] ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานนามสกุล ณ บางช้าง แก่ผู้สืบเชื้อสายจากท่าน<ref>{{อ้างหนังสือ
เมื่อครั้งพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงศรีอยุธยาโปรดให้มหาดเล็กหาสตรีรูปงามไปถวาย มหาดเล็กคนสนิทกราบทูลว่ามีสตรีรูปงามในแขวงบางช้างคนหนึ่งเป็นบุตรเศรษฐีบางช้าง จึงโปรดให้เจ้าเมืองราชบุรีไปสู่ขอต่อบิดามารดา สตรีรูปงามผู้นั้น ชื่อนาค เป็นธิดาของทอง แต่เธอไม่อยากเป็นนางสนม ทองสงสารธิดา จึงนำความเข้าหารือกับหลวงพินิจอักษร (ทองดี) เสมียนตรากรมมหาดไทย หลวงพินิจอักษรเห็นว่า ทองด้วง บุตรชายของตน ได้บวชเรียนแล้วยังไม่มีคู่ครอง จึงได้ทำฎีกากราบทูลว่าธิดาเศรษฐีบางช้างได้สู่ขอให้บุตรชายของตนแล้ว พระเจ้าแผ่นดินได้พระราชทานอนุญาตให้สมรสได้ตามความประสงค์ นาคจึงได้สมรสกับชทองด้วง ซึ่งต่อมาคือ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
 
ทองได้พิราลัยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมา นาค ธิดาของท่านได้รับการสถาปนาเป็น [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] สั้น ภริยาของท่านจึงได้รับการสถาปนาเป็น [[สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี]] ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พระราชทานนามสกุล ณ บางช้าง แก่ผู้สืบเชื้อสายจากท่าน<ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = [[คึกฤทธิ์ ปราโมช]], ม.ร.ว.
| ชื่อหนังสือ = โครงกระดูกในตู้