ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลียงผา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
วิชิต กองคำ (คุย | ส่วนร่วม)
วิชิต กองคำ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 47:
เลียงผาถูกจัดอยู่ใน Appendix I ของ CITES หรือ ชนิดพันธุ์แนบท้ายบัญชีหมายเลข 1 กล่าวคือ เป็นชนิดพันธุ์ที่ห้ามทำการค้าโดยเด็ดขาด ยกเว้นกรณีพิเศษเพื่อการศึกษาหรือวิจัย เพราะเป็นสัตว์ชนิดที่ใกล้จะสูญพันธุ์ การนำเข้าหรือส่งออกต้องได้รับการยินยอมจากประเทศที่จะนำเข้าก่อน ประเทศที่ส่งออกจึงจะออกใบอนุญาตได้ โดยต้องพิจารณาและคำนึงถึงการอยู่รอดของชนิดพันธุ์นั้นๆเป็นความสำคัญ หากไม่ปฏิบัติตามจะถือว่าเป็นการกระทำที่ไม่ถูกกฎหมาย
3. สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ(International Union of Conservation or Nature and Natural Resources หรือ World Conservative Union: IUCN)
การกำหนดสถานภาพของความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ของสัตว์ป่า ( The IUCN Red List of Threatened Animals) โดยเลียงผาถูกกำหนดอยู่ในสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ ( VU: Vulnerable ) ( IUCN 2008 ) ซึ่งหมายถึง สัตว์ป่าชนิดพันธุ์ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการสูญพันธุ์จากพื้นที่ธรรมชาติในอนาคตข้างหน้าต่อไป ในการจัดลำดับสถานภาพทางการอนุรักษ์ดังกล่าวเพื่อ การโน้มน้าว สนับสนุน และส่งเสริมสังคมทั่วโลกให้ร่วมกันสงวนไว้ซึ่งความสมบูรณ์และความหลากหลายของธรรมชาติ และการรับประกันการใช้ทรัพยากรธรรมชาติใด ๆ จะเป็นไปอย่างเที่ยงธรรมและรักษาสภาพเชิงนิเวศไว้<ref>รุ่งทิพย์ สุธรรม, 2557, การประเมินคุณค่าทางโภชนะและการย่อยได้ของอาหารสำหรับเลียงผาในสภาพกรงเลี้ยง, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะเกษตรศาสตร์ ภาควิชาสัตวบาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ </ref>
 
==การจำแนกประเภท==