ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แบตเตอรี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 15:
แบตเตอรี่ปฐมภูมิจะถูกใช้เพียงครั้งเดียวหรือ "ใช้แล้วทิ้ง"; วัสดุที่ใช้ทำขั้วไฟฟ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวรในช่วงปล่อยประจุออก ({{lang-en|discharge}}) ตัวอย่างที่พบบ่อยก็คือ [[แบตเตอรี่อัลคาไลน์]] ที่ใช้สำหรับ [[ไฟฉาย]] และอีกหลายอุปกรณ์พกพา แบตเตอรี่ทุติยภูมิ ([[แบตเตอรี่ประจุใหม่ได้]]) สามารถดิสชาร์จและชาร์จใหม่ได้หลายครั้ง ในการนี้องค์ประกอบเดิมของขั้วไฟฟ้าสามารถเรียกคืนสภาพเดิมได้โดยกระแสย้อนกลับ ตัวอย่างเช่น [[แบตเตอรี่ตะกั่วกรด]] ที่ใช้ในยานพาหนะและแบตเตอรี่ [[ลิเธียมไอออน]] ที่ใช้สำหรับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบเคลื่อนย้ายได้
 
แบตเตอรี่มาในหลายรูปทรงและหลายขนาด จากเซลล์ขนาดเล็กที่ให้พลังงานกับ [[เครื่องช่วยฟัง]] และนาฬิกาข้อมือ จนถึงแบตเตอรี่แบงค์ที่มีขนาดเท่าห้องที่ให้พลังงานเตรียมพร้อมสำหรับ [[ชุมสายโทรศัพท์]] และ [[ศูนย์ข้อมูล]] คอมพิวเตอร์
 
ตามการคาดการณ์ในปี 2005 อุตสาหกรรมแบตเตอรี่ทั่วโลกสร้างมูลค่า 48 พันล้านดอลาร์สหรัฐในการขายในแต่ละปี<ref>[http://www.dfj.com/cgi-bin/artman/publish/article_141.shtml Power Shift: DFJ on the lookout for more power source investments].''Draper Fisher Jurvetson''. Retrieved 20 November 2005.</ref> ด้วยการเจริญเติบโตประจำปี 6%