ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิตวิทยาการเงิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนทางหน้าไปยัง เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
ป้ายระบุ: เปลี่ยนทางใหม่ เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ลบการเปลี่ยนทางไป เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม
ป้ายระบุ: ลบหน้าเปลี่ยนทาง ย้อนด้วยมือ เพิ่มรายการยาว
บรรทัด 1:
#เปลี่ยนทาง [[{{รวม|เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม]]}}
{{ปรับภาษา}}
'''จิตวิทยาการเงิน''' (Behavioral Finance) เป็นการศึกษาผลทางจิตวิทยาของมนุษย์ (Behavioral Biases) ที่มีต่อการตัดสินใจทางการเงิน และผลกระทบต่อเนื่องที่มีต่อราคาหลักทรัพย์และตลาดทุน ทำให้ราคาหลักทรัพย์และตลาดทุนเบี่ยงเบนไปจากราคาที่สมเหตุสมผล (Rationality)
 
== ตัวอย่างของ Behavioral Biases ==
 
# Anchoring and adjustment
# Availability heuristic
# Conservatism bias
# Disjunction effect
# Disposition effect
# Endowment effect
# Framing
# Herding
# Gamblers fallacy
# Loss aversion
# Mental Accounting
# Money Illusion
# Overreaction
# [[Representativeness heuristic]]
# Self-attribution bias
 
'''Herding behavior'''
Herding behavior เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเลียนแบบพฤติกรรมของคนส่วนใหญ่ ซึ่งสามารถอธิบายด้วยหลักจิตวิทยาได้ 2 ประการ คือ ทุกคนต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคม การตัดสินใจจึงอิงกับคนส่วนใหญ่ อีกประการหนึ่งบุคคลอานไม่มีข้อมูลเพียงพอในการต้ดสินใจ จึงอาศัยข้อมูลที่คนส่วนมากมี แม้ว่าข้อมูลที่คนส่วนมากรู้อาจไม่ใช่ข้อมูลที่ถูกต้องเสมอไป
 
ตัวอย่าง: internet bubble, dotcom herding เป็นต้น
 
'''Overconfidence'''
Overconfidence investment เป็นการลงทุนที่นักลงทุนมองโลกในแง่ดีเกินไป หรือประเมินความสามารถของตนไว้สูงเกินไป ทั้งในแง่ของการเลือกหุ้น หรือการเข้าออกได้ถูกจังหวะ ซึ่งนักลงทุนที่มีลักษณะนี้จะมีการซื้อขายหลักทรัพย์บ่อยมากกว่านักลงทุนที่มีความมั่นใจน้อยกว่า ซึ่งโดยมากแล้วการลงทุนที่ชนะตลาดเป็นไปได้ยากในระยะยาวหลอ
 
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://www.investopedia.com/university/behavioral_finance/behavioral.asp Behavioral Finance]
 
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:การเงิน| ]]
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}
 
[[fa:مالیه]]