ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดีเอ็นเอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 6:
ดีเอ็นเอภายในเซลล์มีการจัดระเบียบเป็นโครงสร้างยาว เรียกว่า [[โครโมโซม]] ระหว่าง[[การแบ่งเซลล์]] โครโมโซมเหล่านี้ถูกคัดลอกในขบวนการ[[การถ่ายแบบดีเอ็นเอ]] ทำให้แต่ละเซลล์มีชุดโครโมโซมที่สมบูรณ์ของตัวเอง สิ่งมีชีวิต[[ยูคาริโอต]] ([[สัตว์]] [[พืช]] [[ฟังไจ]]และ[[โพรทิสต์]]) เก็บดีเอ็นเอส่วนมากไว้ใน[[นิวเคลียส]] และดีเอ็นเอบางส่วนอยู่ใน[[ออร์แกเนลล์]] เช่น [[ไมโทคอนเดรีย]]และ[[คลอโรพลาสต์]]<ref>{{cite book | last = Russell | first = Peter | title = iGenetics | publisher = Benjamin Cummings | location = New York | year = 2001 | isbn = 0-8053-4553-1 }}</ref> ในทางตรงข้าม [[โปรคาริโอต]] ([[แบคทีเรีย]]และ[[อาร์เคีย]]) เก็บดีเอ็นเอไว้เฉพาะใน[[ไซโทพลาสซึม]] ในโครโมโซม โปรตีน[[โครมาติน]] เช่น [[ฮิสโตน]]บีบอัดและจัดรูปแบบของดีเอ็นเอ โครงสร้างบีบอัดเหล่านี้นำอันตรกิริยาระหว่างดีเอ็นเอกับโปรตีนอื่น ช่วยควบคุมส่วนของดีเอ็นเอที่จะถูกถอดรหัส
 
== โคร่้เัั้ี้ั้้้ัอเอพแพแดอเัิีีร่ร่่รานานมนาณัเดพกกพดีเอ็นเอเป็นพอลิเมอร์สายยาวที่ประกอบจากหน่วยย่อยซ้ำ ๆ เรียกว่า [[นิวคลีโอไทด์]] ตามที่ถูกค้นพบครั้งแรกโดย [[เจมส์ ดี. วัตสัน]]และ[[ฟรานซิส คริก]] โครงสร้างดีเอ็นเอในทุกสปีชีส์ประกอบด้วยสายเกลียวสองสายพันรอบแกนเดียวกัน แต่ละสายมีความยาวเกลียว 34 [[อังสตรอม]] (3.4 [[นาโนเมตร]]) และรัศมี 10 อังสตรอม (1.0 นาโนเมตร)<ref name="FWPUB">{{cite journal| author1 = Watson J.D. |author2 = Crick F.H.C. | pmid=13054692 | doi = 10.1038/171737a0 | url= http://www.nature.com/nature/dna50/watsoncrick.pdf | title=A Structure for Deoxyribose Nucleic Acid | journal=Nature | volume=171 | pages=737–738 | year=1953 | format=PDF| issue = 4356 | bibcode=1953Natur.171..737W}}</ref> ในอีกการศึกษาหนึ่ง ซึ่งวัดในสารละลายบางะัีี่ีัะรร่่่้้้ี่่่ไไไรรๆชนิด พบว่า สายดีเอ็นเอวัดความกว้างได้ 22 ถึง 26 อังสตรอม (2.2 ถึง 2.6 นาโนเมตร) และหนึ่งหน่วยนิวคลีโอไทด์วัดความยาวได้ 3.3 อังสตรอม (0.33 นาโนเมตร)<ref>{{cite journal |author1=Mandelkern M|author2= Elias J|author3= Eden D|author4= Crothers D |title=The dimensions of DNA in solution |journal=J Mol Biol |volume=152 |issue=1 |pages=153–161 |year=1981 |pmid=7338906 |doi=10.1016/0022-2836(81)90099-1}}</ref> แม้ว่าแต่ละหน่วยที่ซ้ำ ๆ กันนี้จะมีขนาดเล็กมาก แต่พอลิเมอร์ดีเอ็นเอกลับมีขนาดใหญ่มาก โดยประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์หลายล้านหน่วย ตัวอย่างเช่น โครโมโซมหมายเลข 1 ซึ่งเป็นโครโมโซมมนุษย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีความยาว 220 ล้าน[[ล้าในสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอมักไม่ปรากฏเป็นโมเลกุลเดี่ยว แต่พบเป็นโมเลกุลคู่เบส]]ที่ยึดกันอย่างแน่นหนา<ref name="FWPUB">{{cite journal|author1=Watson J.D.|author2=Gregory SCrick F.H.C.|pmid=13054692|doi=10.1038/171737a0|url=http://www.nature.com/nature/dna50/watsoncrick.pdf|title=TheA DNAStructure sequencefor andDeoxyribose biological annotation of human chromosome 1Nucleic Acid|journal=Nature |volume=441 |issue=7091 171|pages=315–21 737–738|year=2006 1953|pmidformat=16710414 PDF| doi issue= 104356|bibcode=1953Natur.1038171..737W}}</nature04727ref><ref |last2name=Barlow"berg">{{cite book|first2author1=KFBerg J.|last3author2=McLayTymoczko J.|firstauthor3=KE |last4=KaulStryer L.|first4date=R 2002|last5title=Swarbreck Biochemistry|first5publisher=DW. H. Freeman and Company|last6isbn=Dunham |first0-7167-4955-6=A}}</ref> |last7=Scottทั้งสองสายนี้พันกันเหมือนกับไม้เลื้อยในรูปเกลียวคู่ |first7=CEหน่วยซ้ำนิวคลีโอไทด์มีทั้งส่วนแกนกลางของโมเลกุล |last8=Howeซึ่งยึดสายเข้าด้วยกัน |first8=KLกับนิวคลีโอเบส |last9=Woodfineซึ่งมีปฏิกิริยากับดีเอ็นเออีกเกลียวหนึ่ง น้ำตาลที่เชื่อมกับนิวคลีโอเบส เรียกว่า [[นิวคลีโอไซด์]] ส่วนนิวคลีโอไซด์ที่เชื่อมกับหมู่ฟอสเฟตหนึ่งหมู่หรือมากกว่า เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์เชื่อมกันหลาย |first9=K|display-authors=2|bibcode =ตัว 2006Naturเรียกว่า พอลินิวคลีโอไทด์<ref name="IUPAC">[http://www.441chem.qmul.315Gac.uk/iupac/misc/naabb.html }}Abbreviations and Symbols for Nucleic Acids, Polynucleotides and their Constituents] IUPAC-IUB Commission on Biochemical Nomenclature (CBN). Retrieved 3 January 2006.</ref>==
ในสิ่งมีชีวิต ดีเอ็นเอมักไม่ปรากฏเป็นโมเลกุลเดี่ยว แต่พบเป็นโมเลกุลคู่ที่ยึดกันอย่างแน่นหนา<ref name=FWPUB/><ref name="berg">{{cite book|author1=Berg J.|author2=Tymoczko J.|author3= Stryer L.|date=2002|title=Biochemistry|publisher=W. H. Freeman and Company|isbn= 0-7167-4955-6}}</ref> ทั้งสองสายนี้พันกันเหมือนกับไม้เลื้อยในรูปเกลียวคู่ หน่วยซ้ำนิวคลีโอไทด์มีทั้งส่วนแกนกลางของโมเลกุล ซึ่งยึดสายเข้าด้วยกัน กับนิวคลีโอเบส ซึ่งมีปฏิกิริยากับดีเอ็นเออีกเกลียวหนึ่ง น้ำตาลที่เชื่อมกับนิวคลีโอเบส เรียกว่า [[นิวคลีโอไซด์]] ส่วนนิวคลีโอไซด์ที่เชื่อมกับหมู่ฟอสเฟตหนึ่งหมู่หรือมากกว่า เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ พอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์เชื่อมกันหลาย ๆ ตัว เรียกว่า พอลินิวคลีโอไทด์<ref name=IUPAC>[http://www.chem.qmul.ac.uk/iupac/misc/naabb.html Abbreviations and Symbols for Nucleic Acids, Polynucleotides and their Constituents] IUPAC-IUB Commission on Biochemical Nomenclature (CBN). Retrieved 3 January 2006.</ref>
 
แกนกลางของสายดีเอ็นเอเป็นหน่วยย่อยน้ำตาลกับฟอสเฟต<ref name=Ghosh>{{cite journal |author1=Ghosh A |author2= Bansal M |title=A glossary of DNA structures from A to Z |journal=Acta Crystallogr D |volume=59 |issue=4 |pages=620–6 |year=2003 |pmid=12657780 |doi=10.1107/S0907444903003251}}</ref> น้ำตาลในดีเอ็นเอ คือ 2-ดีออกซีไรโบส ซึ่งเป็นน้ำตาลเพนโทส (5 คาร์บอน) น้ำตาลถูกเชื่อมเข้าด้วยกันโดยหมู่ฟอสเฟต ซึ่งสร้างพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ระหว่างคาร์บอนอะตอมที่สามและที่ห้าของวงแหวนน้ำตาลที่อยู่ติดกัน พันธะที่อสมมาตรนี้ หมายความว่า สายดีเอ็นเอมีทิศทาง ในเกลียวคู่ ทิศทางของนิวคลีโอไทด์สายหนึ่งจะตรงกันข้ามกับทิศทางในอีกสายหนึ่ง หรืออาจกล่าวได้ว่า ทั้งสองสายขนานกันในทิศตรงข้าม (antiparallel) ปลายอสมมาตรของสายดีเอ็นเอ เรียกว่า 5′ (ไพรม์) และ 3′ โดยที่ 5′ มีหมู่ฟอสเฟต และที่ปลาย 3′ มี[[หมู่ไฮดรอกซิล]] ข้อแตกต่างที่สำคัญประการหนึ่งระหว่างดีเอ็นเอกับอาร์เอ็นเอ คือ น้ำตาล โดยที่ 2-ดีออกซีไรโบสในดีเอ็นเอจะถูกแทนที่ด้วย[[ไรโบส]]ซึ่งเป็นน้ำตาลเพนโทสอีกชนิดหนึ่ง ในอาร์เอ็นเอ