ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:ชาวไทย/ทดลองเขียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
แปลภาษา
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{กระบะทรายผู้ใช้}}
<!-- กรุณาทดลองเขียนหรือร่างบทความใต้บรรทัดนี้ -->
===การพิชิตอังกฤษรุกขึ้นเหนือ===
Early in 1016, the Vikings crossed the [[River Thames|Thames]] and harried [[Warwickshire]], while Edmund Ironside's attempts at opposition seem to have come to nothing—the chronicler says the English army disbanded because the king and the citizenry of London were not present.<ref name="Lawson, Cnut, p. 27"/> The mid-winter assault by Cnut devastated its way northwards across eastern [[Mercia]]. Another summons of the army brought the Englishmen together, and they were met this time by the king, although "it came to nothing as so often before", and Æthelred returned to London with fears of betrayal.<ref name="Lawson, Cnut, p. 27"/> Edmund then went north to join [[Uhtred the Bold|Uhtred]] the [[Earl of Northumbria]] and together they harried [[Staffordshire]], [[Shropshire]] and [[Cheshire]] in western Mercia,<ref name="Lawson, Cnut, p.28">Lawson, ''Cnut'', p. 28.</ref> possibly targeting the estates of Eadric Streona. Cnut's occupation of [[Kingdom of Northumbria|Northumbria]] meant Uhtred returned home to submit himself to Cnut,<ref>''Anglo-Saxon Chronicles'', pp. 146–49.</ref> who seems to have sent a Northumbrian rival, [[Thurbrand the Hold]], to massacre Uhtred and his retinue. [[Eiríkr Hákonarson]], most likely with another force of Scandinavians, came to support Cnut at this point,<ref>Trow, ''Cnut'', p. 59.</ref> and the veteran Norwegian jarl was put in charge of Northumbria.
[[File:U 194, Väsby.JPG|thumb|upright| [[หินรูน]] (runestone) [[หินรูนในประเทศอังกฤษ#ยู 194|หมายเลขยู 194]] เป็นจารึกเกี่ยวกับไวกิงนามว่าเอลลี (Alli) ซึ่งบันทึกไว้ว่าเขา "ได้รับพระราชทานบําเหน็ดจากพระเจ้าคนุตในอังกฤษ" (''He won Knútr's payment in England'')]]
[[พระเจ้าโบเลสวัฟที่ 1 ผู้กล้าหาญ|โบเลสวัฟที่ 1 ผู้กล้าหาญ]] [[รายพระนามพระมหากษัตริย์โปแลนด์|ดยุกแห่งโปแลนด์]] (ภายหลังทรงได้รับการราชาภิเษกเป็นกษัตริย์) พระราชมาตุลา (ลุงฝ่ายแม่) ของพระเจ้าคนุตได้ให้พระองค์ยืมทหาร[[ชาวโปแลนด์|ชาวโปล]]จํานวนหนึ่ง<ref name="Lawson, Cnut, p">Lawson, ''Cnut'', p. 49.</ref> ซึ่งอาจจะเป็นข้อตกลงที่ทรงให้ไว้กับพระเจ้าคนุตและพระราชอนุชาเมื่อคราวที่ทั้งสองพระองค์ทรงเสด็จไปรับพระราชมารดากลับเดนมาร์กในฤดูหนาว พระนางทรงถูกขับไล่จากราชสํานักหลังจากพระเจ้าสเวนทรงอภิเษกสมรสใหม่กับ[[ซิกริดผู้ทรนง]]พระมเหสีม่ายของ[[พระเจ้าอีริค ผู้ชนะแห่งสวีเดน]]ในปี ค.ศ. 995 การอภิเษกสมรสดังกล่าวได้สร้างพันธมิตรระหว่าง[[พระเจ้าโอลอฟ สก็อทโคนุงแห่งสวีเดน|พระเจ้าโอลอฟ สก็อทโคนุง]] กษัตริย์แห่งสวีเดนพระองค์ใหม่กับราชวงศ์เดนมาร์กในขณะนั้น<ref name="Lawson, Cnut, p"/> เดนมาร์กจึงได้สวีเดนมาเป็นพันธมิตรในการรุกรานอังกฤษ อีกหนึ่งพันธมิตรของพระเจ้าคนุตคือ [[อีริค โฮกุนนาร์สัน]] (Eiríkr Hákonarson) [[เอิร์ลแห่งเลด]] ผู้ปกครองร่วมแห่งนอร์เวย์กับพี่ชายต่างมารดา [[สเวน โฮกุนสัน]] (Sweyn Haakonsson) และมีความเกี่ยวดองกับราชวงศ์เดนมาร์กด้วย นอร์เวย์ตกอยู่ภายใต้การปกครองของเดนมาร์กมาตั้งแต่หลัง[[ยุทธการโซลเวเดอร์]] (Battle of Svolder) ในปี ค.ศ. 999 ในระหว่างที่อีริคไปร่วมทัพของพระเจ้าคนุต โฮกุน ผู้เป็นบุตรชายของเขาเป็นผู้แทนในการปกครองนอร์เวย์ร่วมกับสเวน
 
Prince Edmund remained in London, still unsubdued behind [[London Wall|its walls]], and was elected king after the death of Æthelred on 23 April 1016.
ในหน้าร้อนของปี ค.ศ. 1015 กองเรือของพระเจ้าคนุตก็เริ่มออกเดินทางไปยังอังกฤษพร้อมกับไพร่พลประมาณ 10,000 นาย ด้วยกองเรือจํานวน 200 ลํา<ref>Trow, ''Cnut''</ref> กองทัพของพระองค์ถือเป็นการรวมตัวของ[[ชาวไวกิง]]จากทั่ว[[สแกนดิเนเวีย]] กองกําลังของพระองค์จะเผชิญหน้ากับฝ่ายอังกฤษภายใต้การนําของ[[พระเจ้าเอ็ดมันด์ที่ 2 แห่งอังกฤษ|พระเจ้าเอ็ดมันด์ผู้ทนทาน]]ในสมรภูมิรบอันดุเดือดไปอีกกว่าสิบสี่เดือน
 
===การขึ้นฝั่งในเวสเซกซ์===
[[พงศวดารปีเตอร์บะระ]] อันเป็นหนึ่งในพงศาวดารชุด ''[[บันทึกเหตุการณ์ของชาวแองโกล-แซกซัน]]'' บันทึกไว้ว่าในต้นเดือนกันยายน ค.ศ. 1015 "[พระเจ้าคนุต] ทรงมาถึง[[แซนด์วิช เคนต์|แซนด์วิช]] และทรงแล่นเรือผ่าน[[เคนต์]]และ[[ราชอาณาจักรเวสเซกซ์|เวสเซกซ์]] จนกระทั้งพระองค์ทรงมาถึงปาก[[แม่นํ้าโฟรม ดอร์เซต|แม่นํ้าโฟรม]] และขึ้นฝั่งที่[[ดอร์เซต]] [[วิลต์เชอร์]]และ[[ซัมเมอร์เซต]]"<ref>Garmonsway, G.N. (ed. & trans.), ''The Anglo-Saxon Chronicle'', Dent Dutton, 1972 & 1975, Peterborough (E) text, s.a. 1015, p. 146.</ref> เป็นจุดเริ่มต้นของการทัพขนาดมหึมาที่สุดนับตั้งแต่รัชสมัยของ[[พระเจ้าอัลเฟรดมหาราช]]<ref name="Lawson, Cnut, p. 27"/> บทสรรเสริญราชินีเอ็มมาได้บรรยายเกี่ยวกับกองเรือของพระองค์ไว้ดังนี้:
{{quote|ณ ที่นั้นมีโล่หลากชนิด ซึ่งทําให้ท่านเชื่อได้ว่าไพร่พลจากนานาชนชาติได้มาถึงยัง ณ ที่แห่งนี้...หัวเรือเป็นประกายด้วยทองคํา แร่เงินสะท้อนแสงไปตามเรือหลายรูปทรง....ใครเล่าจะกล้าเชิดหน้าขึ้นมามองเหล่าราชสีห์ของศัตรู ต่างสั่นกระทาด้วยกลัวความระยับของทองคําและเหล่านักรบผู้น่าครันครามด้วยใบหน้าอันเรียบนิ่ง....เรือของพวกเขานําพามาซึ่งความตาย แลแตรของพวกเขาระยิบไปด้วยทอง ใครเล่าจะไม่รู้สึกหวั่นเกรงกษัตริย์ผู้มีกองทัพเช่นนี้? มิหนำซ้ำ กองกําลังนี้มิมีไพร่พลใดที่เป็นทาสหรือผู้ที่เคยเป็นทาส ไม่มีคนซาติกําเนิดตํ่าต้อย ไม่มีไพร่พลที่อ่อนแอด้วความชราของอายุ ด้วยพวกเขาทั้งหมดต่างเป็นผู้มีชาติตระกูล แลแข็งแรงด้วยกําลังวังชาของคนวัยหนุ่ม ชํานาญการต่อสู้ทุกแขนงแลการเรือ พวกเขาเคลื่อนที่ด้วยความเร็วยิ่งกว่าพลทหารม้า|''อิโครนัม เอ็มมา เรจีนา''<ref>Campbell, A. (ed. & trans.), ''Encomium Emmae Reginae'', Camden 3rd Series vol. LXXII, 1949, pp. 19–21.</ref>}}
 
[[ราชอาณาจักรเวสเซกซ์|เวสเซกซ์]]ซึ่งถูกปกครองโดยราชวงศ์ของพระเจ้าแอเธลเรดมาเป็นเวลานานยอมจำนนกับกองกำลังของพระเจ้าคนุตในปลายปี ค.ศ. 1015 ดั่งเช่นที่ยอมจํานนกับกองกําลังของพระราชบิดาของพระองค์เมื่อสองปีก่อนหน้า<ref name="Lawson, Cnut, p. 27"/> ณ จุดนี้ [[เอ็ดริก สโตรนา]] (Eadric Streona) [[เอิร์ลแห่งเมอร์เซีย|เอลโดเมนแห่งเมอร์เซีย]] ได้แปรพักตร์จากฝ่ายของพระเจ้าแอเธลเรดไปพร้อมกับเรือ 40 ลํา รวมถึงลูกเรือจํานวนหนึ่ง และเข้าไปสวามิภักดิ์กับพระเจ้าคนุต<ref name="G. Jones, Vikings, p. 370">G. Jones, ''Vikings'', p. 370</ref> ผู้แปรพักตร์อีกคนได้แก่[[ธอร์เคลตัวสูง|ธอร์เคล]] ผู้นำของชาวจอมสซึ่งเคยต่อสู้กับกองกําลังของ[[พระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด]]ให้กับฝ่ายอังกฤษ<ref name="Lawson, Cnut, p. 27"/>—สาเหตุของการแปรพักตร์สามารถพบได้ใน ''[[จอมสไวกิงซากา]]'' (Jómsvíkinga saga) ซึ่งกล่าวถึงการถูกโจมตีของทหารรับจ้างชาวจอมสบอร์กในอังกฤษ โดยหนึ่งในผู้เสียชีวิตนั้นมีเฮนนิงค (Henninge) น้องชายของธอร์เคลรวมอยู่ด้วย<ref name="Trow, Cnut, p. 57">Trow, ''Cnut'', p. 57.</ref> หากเรื่องที่บันทึกไว้ใน ''[[แฟลร์ทิยาร์ลบก]]'' นั้นเป็นความจริงที่ว่าพระเจ้าคนุตทรงได้รับการอบรมจากธอร์เคล มันจะสามารถอธิบายสาเหตุที่พระเจ้าคนุตทรงรับเขาเข้ามาในกองทัพของพระองค์ได้ กองเรือจํานวน 40 ที่เอ็ดริกนํามาด้วย ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นกองเรือของเขต[[เดนลอว์]]<ref name="Trow, Cnut, p. 57"/> แท้จริงแล้วอาจจะเป็นของธอร์เคล<ref>Lawson, ''Cnut'', p. 161</ref>