ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การถ่ายเทยีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
LamBoet (คุย | ส่วนร่วม)
melpomene -> erato
LamBoet (คุย | ส่วนร่วม)
melpomene -> erato
บรรทัด 142:
[[ไฟล์:Spreading homo sapiens.svg|thumb| [[การแผ่ปรับตัว]]ของมนุษย์ยุคต้น ๆ ไปทั่วโลกตามทฤษฎี และสปีชีส์ต่าง ๆ ของสายพันธุ์มนุษย์ที่อาจมีส่วนเป็นบรรพบุรุษของ[[มนุษย์ปัจจุบัน]] ]]
* '''กลุ่มต่าง ๆ ของมนุษย์''' - มีทฤษฎีสองอย่างสำหรับ[[วิวัฒนาการของมนุษย์|การวิวัฒนาการเกิดขึ้นของมนุษย์]]ทั่วโลก ทฤษฎีแรกเรียกว่าแบบจำลองหลายเขต (multiregional model) ที่ความต่าง ๆ ของมนุษย์ปัจจุบันเป็นผลของการแผ่ปรับตัวของมนุษย์พันธ์ ''[[Homo erectus]]'' ที่อพยพออกจากแอฟริกา แล้วหลังจากนั้นมนุษย์จึงเกิดความต่างในพื้นที่ต่าง ๆ ดังที่เห็นในปัจจุบัน<ref> {{cite conference | authors = Tobias, PV; Strong, V; White, H | year = 1985 | title = Hominid Evolution: Past, Present, and Future | conference = Proceedings of the Taung Diamond Jubilee International Symposium | location = Johannesburg and Mmabatho, Southern Africa }}</ref><ref name=":1"> {{cite journal | authors = Stringer, C; Andrews, P | year = 1988 | url = http://www.jstor.org/stable/1700885 | title = Genetic and Fossil Evidence for the Origin of Modern Humans | journal = Science | volume = 239 | issue = 4845 | pages = 1263-1268 }} </ref> การโอนยีนมีบทบาทสำคัญเพราะรักษาความคล้ายคลึงกันของมนุษย์ในระดับที่พอไม่ให้เกิดสปีชีส์ใหม่ เทียบกับทฤษฎีกำเนิดมนุษย์เดียว (single origin) ที่อ้างว่า มีกลุ่มประชากรมนุษย์ในแอฟริกาผู้มีลักษณะทางกายที่เราเห็นในมนุษย์ปัจจุบันอยู่แล้ว ที่เป็นบรรพบุรุษของ ''[[Homo sapiens]]'' ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ไม่ต้องอิงกระบวนการวิวัฒนาการที่เป็นไปอย่างขนานของมนุษย์ในที่ต่าง ๆ<ref name=":1" />
[[ไฟล์:Red postman butterfly (Heliconius erato).jpg|thumb|''Heliconius erato'']]
* '''[[ผีเสื้อ (แมลง)|ผีเสื้อ]]''' - การเปรียบเทียบกลุ่มประชากรที่อยู่บริเวณเดียวกันและต่างกันของผีเสื้อ ''Heliconius&nbsp;melpomene'', ''H.&nbsp;cydno'', และ ''H.&nbsp;timareta'' แสดงความคล้ายคลึงกันทางพันธุกรรมทั่วจีโนมของผีเสื้อที่อยู่บริเวณเดียวกัน ซึ่งแสดงการโอนยีนภายในกลุ่มอย่างแพร่หลาย<ref>{{cite journal | authors = Martin, SH; Dasmahapatra, KK; Nadeau, NJ; Salazar, C; Walters, JR; Simpson, F; Jiggins, CD | year = 2013 | title = Genome-wide evidence for speciation with gene flow in Heliconius butterflies | journal = Genome Research | volume = 23 | issue = 11 | pages = 1817-1828 }} </ref>
* '''พืช''' - ต้น ''Mimulus lewisii'' (Lewis' monkeyflower) และ ''Mimulus cardinalis'' (scarlet monkeyflower) มีพาหะถ่ายเรณูพิเศษจนกระทั่งมีผลต่อยีนหลัก ๆ ทำให้ต้นไม้เกิดวิวัฒนาการมีดอกไม้ที่ต่างกัน และสืบพันธุ์แยกจากกัน<ref>{{Cite journal | last = Schemske | first = Douglas W. | last2 = Bradshaw | first2 = H. D. | date = 1999-10-12 | title = Pollinator preference and the evolution of floral traits in monkeyflowers (Mimulus) | url = http://www.pnas.org/content/96/21/11910 | journal = Proceedings of the National Academy of Sciences | language = en | volume = 96 | issue = 21 | pages = 11910-11915 | doi = 10.1073/pnas.96.21.11910 | pmid = 10518550}}</ref> คือพาหะถ่ายเรณูที่เฉพาะเจาะจงได้จำกัดการโอนยีนระหว่างประชากรสองกลุ่มนี้ จึงเกิดเป็นสปีชีส์ใหม่