ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความขัดแย้งภายในพม่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| casus=
| date= เมษายน 2491-ปัจจุบัน
| place= [[ประเทศพม่า]]
| status= กำลังดำเนินอยู่ในการหยุดยิง
| territory=
| combatant1={{flagicon|Burma}} รัฐบาลทหารพม่า (2505-2505–2554)<br>
[[พรรคสหสามัคคีและการพัฒนา]] (หลังปี 2554-)
 
| combatant2= กลุ่มต่อต้านรัฐบาลทหาร:
บรรทัด 26:
'''สนับสนุนโดย'''
<br />{{flag|ไทย}}<ref name=Thai>{{cite web | url=http://www.drugtext.org/library/books/McCoy/book/62.htm | title=The Shan Rebellion: The Road to Chaos | publisher=Drug Text | accessdate=December 8, 2011}}</ref>
<br />{{flag|สหรัฐอเมริกา}} <ref>{{cite book | title=The Secret Army: Chiang Kai-shek and the Drug Warlords of the Golden Triangle | publisher=John Wiley and Sons | author=Richard Michael Gibson | year=2011 | pages=85–90 | isbn=978-0-470-83018-5}}</ref>
<br>{{flag|จีน}}<ref name=R88>Richard, p. 88</ref>
<br>{{flag|ตุรกี}}
บรรทัด 38:
| casualties3= เสียชีวิต 210,000 คน (1948-2006)<ref>[http://remilitari.com/guias/victimario4.htm De re militari: muertos en Guerras, Dictaduras y Genocidios]</ref>
}}
'''ความขัดแย้งภายในพม่า''' หมายถึง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นใน[[ประเทศพม่า]]ปัจจุบัน ซึ่งมีมาตั้งแต่ได้รับเอกราชจากอังกฤษสหราชอาณาจักรใน พ.ศ. 2491 รัฐบาลกลางหลายชุดต่อกันมาได้สู้รบกับกบฏเชื้อชาติและการเมืองไม่จบสิ้น หนึ่งในการก่อการกำเริบช่วงแรก ๆ เป็นเกิดจากพวกนิยมซ้าย "หลายสี" ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวพม่า และโดย[[สหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง]] (KNU) กบฏเชื้อชาติอื่นปะทุขึ้นเฉพาะช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 หลังรัฐบาลกลางปฏิเสธรัฐบาลแบบสหพันธ์[[สหพันธรัฐ]] อย่างไรก็ดี นับแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา การก่อการกำเริบด้วยอาวุธที่มีวัตถุประสงค์ทางการเมืองค่อย ๆ หมดไปเป็นส่วนใหญ่ แต่การก่อการกำเริบด้านเชื้อชาติยังคงอยู่ และยังไม่มีทีท่ายุติ
 
การก่อการกำเริบเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนหรือถูกใช้โดยต่างชาติบงการ ทำให้การปิดประเทศทรุดหนัก ความสงสัยและความกังวลในหมู่ชาวพม่าทั้งชนกลุ่มน้อยในประเทศและต่างประเทศ อังกฤษบางกลุ่มสนับสนุน[[กะเหรี่ยง]] ปากีสถานตะวันออก ([[บังกลาเทศ]]ปัจจุบัน) หนุนหลังมุสลิม[[โรฮีนจา]]ตามแนวชายแดนกับการหนุนหลังของตะวันออกกลาง อินเดียกล่าวกันว่าข้องเกี่ยวกับ[[กะชีน]]และกะเหรี่ยง จีนสนับสนุน[[พรรคคอมมิวนิสต์พม่า]] (ภายหลังคือ พวก[[ว้า]]) กบฏนากและกะชีน สหรัฐอเมริกาสนับสนุน[[ก๊กมินตั๋ง]] และไทยสนับสนุนกลุ่มกบฏหลายกลุ่ม โดยเป็นการเพื่อสร้างรัฐหรือพื้นที่กันชน<ref name=dis-44>Steinberg, p. 44</ref> ก่อนการหยุดยิง กองทัพที่มีชาวพม่าเป็นส่วนใหญ่ได้ดำเนินการทัพในฤดูแล้งทุกปีแต่คว้าน้ำเหลว พวกกบฏจะกลับมาทุกครั้งเมื่อกองทัพถอนกำลังกลับไป
 
รัฐบาลกลางที่พม่าครอบงำ (พลเรือนหรือคล้ายทหาร) ไม่สามารถบรรลุความตกลงทางการเมืองได้แม้เป้าหมายของการก่อการกำเริบทางเชื้อชาติสำคัญส่วนมาก (รวมทั้ง KNU) คือ การปกครองตนเองมิใช่การแยกตัวเป็นเอกราช ปัจจุบัน รัฐบาลได้ลงนามความตกลงหยุดยิงอย่างอึดอัดกับกลุ่มก่อการกำเริบส่วนใหญ่ แต่กองทัพยังไม่ได้รับความเชื่อใจจากประชากรท้องถิ่น กองทัพถูกกล่าวหาอย่างกว้างขวางว่าปฏิบัติต่อประชากรท้องถิ่นอย่างเลวร้ายแต่ไม่ถูกลงโทษ และถูกมองว่าเป็นกองกำลังยึดครองในภูมิภาคเชื้อชาติต่าง ๆ