ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความงมงาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{Other uses}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[File:Black cat superstition.jpg|thumb|right|แมวดำ ถือว่าเป็นสัตว์ที่นำมาซึ่งความโชคดีหรือโชคร้าย ขึ้นอยู่กับธรรมเนียม]]
'''ความเชื่อโชคลาง''' คือกลุ่มของพฤติกรรมและความเชื่อเกี่ยวข้องกับ[[ความคิดเชิงไสยศาสตร์]] ที่ผู้ฝึกฝนเชื่อว่า[[อนาคต]]หรือผลลัพธ์ของเหตุการณ์บางอย่าง สามารถถูกดลบันดาลให้เป็นไปได้ด้วย[[พฤติกรรม]]ที่กำหนด แนวคิดเกี่ยวกับ "โชคดี" และ "โชคร้าย" ก่อให้เกิดความเชื่อโชคลางมากมาย เช่น ความเชื่อที่ว่าถ้าจิ้งจกร้องทักก่อนเดินทางออกจากบ้านจะมีโชคร้าย เป็นต้น
'''ความงมงาย''' ({{lang-en|superstition}}) คือความเชื่อหรือการกระทำที่มีฐานจากผู้เชื่อใน[[โชค]]หรือแรงขับเคลื่อนที่[[ความไร้เหตุผล|ไม่มีเหตุผล]], ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ หรือ[[เหนือธรรมชาติ]]<ref>cf. https://www.merriam-webster.com/dictionary/superstition</ref> เกือบทุกครั้งมาจากความโง่เขลา, ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือ[[เหตุภาพ]], ความเชื่อในเรื่องโชคชะตาหรือ[[ไสยศาสตร์]] หรือ[[ความกลัว]]ในสิ่งที่ไม่รู้ โดยทั่วไปมักกล่าวถึงความเชื่อและการกระทำเกี่ยกับ[[โชค]], [[คำพยากรณ์]] และ[[สิ่งเหนือธรรมชาติ]] โดยเฉพาะความเชื่อต่อเหตุการณ์ในอนาคต<ref name =vyse21>{{cite book|last=Vyse|first=Stuart A.|author-link=Stuart Vyse|title=Believing in Magic: The Psychology of Superstition|year=2000|publisher=Oxford University Press|location=Oxford, England|isbn=978-0-1951-3634-0|pages=19–22}}</ref>
 
การตรวจสอบว่าสื่งใดเป็น ''ความงมงาย'' โดยทั่วไปถือเป็นการดูถูก สิ่งที่ถูกกล่าวโดยเฉพาะมักถูกเรียกเป็น[[ความเชื่อพื้นบ้าน]]ใน[[คติชนวิทยา]]<ref name="FOLKLORISTICS">For discussion, see for example Georges, Robert A. & Jones, Michael Owen. 1995. ''Folkloristics: An Introduction'', p. 122. [[Indiana University Press]]. {{ISBN|0253329345}}.</ref>
โดยทั่วไปแล้ว ''ความเชื่อเกี่ยวกับโชคลาง'' สามารถอธิบายได้โดยใช้คำศัพท์ทาง[[ศาสนา]] ซึ่งทำให้[[นักกังขาคติ]]หลายคนให้ความเห็นว่าทุกศาสนาคือความเชื่อโชคลางทั้งสิ้น
 
==อ้างอิง==
โดยนิยามความเชื่อโชคลางนั้นจะไม่วางอยู่บนฐานของ[[เหตุผล]] ความเชื่อหลายความเชื่อเกิดจากความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ[[เหตุภาพ|ความเป็นเหตุเป็นผล]] หรือ[[สถิติ]] ความเชื่ออีกจำนวนมากเกิดจาก[[ความกลัว]] ที่แสดงออกในรูปของความเชื่อทางศาสนา, ความเชื่อในเหตุการณ์เหนือจริง, การยื่นมือเข้ามาเกี่ยวข้องของสิ่งเหนือธรรมชาติ การปรากฏขึ้นของภูตผี หรือความมีประสิทธิภาพของ[[เวทมนตร์คาถา]] [[การปลุกเสก]] การเชื่อใน[[ลางบอกเหตุ]] และ[[การพยากรณ์|การบอกเหตุล่วงหน้า]]
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
ทุกอย่างที่กล่าวมาข้างต้นทำให้เกิดความกลัวที่ไม่มีหลักเกณฑ์ หรือการยึดถือหลักทางศีลธรรมอย่างเคร่งครัดจนเกินไป
 
ความเชื่อโชคลางยังถูกใช้เพื่อหมายถึงระบบความเชื่อ[[ขนบประเพณีพื้นบ้าน|พื้นบ้าน]] ในความหมายที่แตกต่างกับความเชื่ออื่นๆ เกี่ยวกับโลกทางวิญญาณของ[[ศาสนา]] และในความหมายที่แตกต่างกับ[[วิทยาศาสตร์]]
 
[[หมวดหมู่:ไสยศาสตร์]]