ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โนเกีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jack88s (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น ใส่ชื่อผู้ใช้ในบทความ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ Jack88s (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย BotKung
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 13:
| homepage = [http://www.nokia.com/ www.nokia.com]
}}
'''[https://king99hd.net โนเกีย]''' ({{lang-en|Nokia}}) เป็นบริษัท[[โทรคมนาคม]]รายใหญ่ของโลก มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมือง[[เอสโป]] [[ประเทศฟินแลนด์]] ปัจจุบันเป็นผู้ผลิต[[โทรศัพท์เคลื่อนที่]]ที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก<ref>[http://nexus404.com/Blog/2010/05/07/nokia-still-1-phone-manufacturer-recent-idc-numbers-show-nokia-is-on-top-rim-losing-ground-apple-gaining-fast Nokia Still 1 Phone Manufacturer ] {{en icon}}</ref>โดยมีมีประวัติย้อนกลับไปกว่า 140 ปีเริ่มจากการเป็นบริษัทผลิต[[กระดาษ]] พัฒนาเป็นเครื่องอุปโภคบริโภค และอุตสาหกรรมโทรคมนาคม โนเกียมีส่วนสำคัญมากต่อเศรษฐกิจของฟินแลนด์ โดยมีส่วนถึงราวหนึ่งในสามของ [[market capitalization]] ของ[[ตลาดหลักทรัพย์เฮลซิงกิ]]<ref>[http://www.taloussanomat.fi/porssi-ja-raha/2007/07/24/Ulkomaalaiset+valtaavat+p%F6rssiyhti%F6it%E4/200717658/103 Taloussanomat.fi – Ulkomaalaiset valtaavat pörssiyhtiöitä] {{fi icon}}</ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 28:
และในปี 1918 บริษัท Finnish Rubber Works (FRW) ซึ่งเป็นบริษัทผู้นำผลิตภัณฑ์ยางในประเทศฟินแลนด์และเป็นหนึ่งในลูกค้ารายสำคัญของโรงงานผลิตไฟฟ้าของโนเกียได้มาเป็นหุ้น ส่วนรายใหญ่ของโนเกียหลังจากที่โนเกียไม่สามารถรองรับการขาดทุนของธุรกิจได้จนต้องตกไปเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท FRW แทน
 
จากนั้นใน ปี 1922 บริษัท Cable Works ซึ่งดำเนินธุรกิจด้านสายเคเบิลและสายโทรศัพท์ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของ [https://www.sudapapay.com Nokia] group จากความสนใจของบริษัท FRW แม้จะมีความหลากหลายของธุรกิจที่รวมเข้าด้วยกันแต่โนเกียก็ยังคงผลิตสินค้าออกมาทั้ง 3 ประเภท คือกระดาษ ผลิตภัณฑ์ยาง (รองเท้ายาง ยาง รถยนต์) และสายเคเบิล โดยสินค้าทั้งหมดออกจำหน่ายในนามของโนเกีย
 
ยุคของอิเล็กทรอนิคกับโนเกียได้เริ่มขึ้นอย่างจริงจังในปี 1977 ภายใต้การดูแลของ Kari Kairamo ประธานบริษัทซึ่งได้เรียนรู้ประสบการณ์จากการทำงานในประเทศสหรัฐอเมริกา แตกต่างจากรุ่นก่อนหน้านี้ที่จะมีหัวไปทางรัสเซียโดยผลิตสินค้าส่งออก คือ สายไปเคเบิล ให้กับ ประเทศรัสเซีย [https://jack88.biz Kairamo] นำแนวคิดแบบตะวันตกและแหวกแนวมาประยุกต์มุ่งเน้นให้ผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิคให้เข้ากับยุคแห่งพลังงานจนกลายมาเป็นธุรกิจหลักของโนเกียในยุคนี้เป็นต้นมาโดยผลิตโทรทัศน์และคอมพิวเตอร์ออกมาเบิกทางในตลาด ซึ่งก็ประสบความสำเร็จอย่างสูงกับการติดอันดับผู้ผลิตโทรทัศน์รายใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 3 ของยุโรปเลยทีเดียว
 
ก้าวมาสู่ยุคแห่งการสื่อสารไร้สายในการนำของรองประธานกรรมการอาวุโสและกรรมการบริหารการเงิน Jorma Ollila ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานตั้งแต่ปี 1992 - 1999 และ CEO ของโนเกียในปี 1999 จนตราบถึงทุกวันนี้ด้วยแนวคิดของ Ollila ภายใต้การดูแลของ Kairamo นั้น โนเกียกับโทรศัพท์เคลื่อนที่จึงได้ถือกำเนิดขึ้น
บรรทัด 38:
ไม่นานระบบเครือข่ายที่ดีขึ้นก็เป็นที่ต้องการในสังคม โนเกียจึงพัฒนาเครือข่าย GSM ขึ้นเป็นครั้งแรกให้กับ Radiolinja บริษัทของฟินแลนด์ เมื่อปี 1989 ณ จุดนี้เองที่ Nokia 1011 บรรพบุรุษของบรรดาโทรศัพท์เคลื่อนที่ในยุคปัจจุบันได้ออกมาสู่สายตาของทุกคนเป็นครั้งแรกในปี 1992 จากนั้นโนเกียก็ได้ยึดโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นธุรกิจหลักเป็นต้นมา
 
[https://king99star.com โนเกีย]ไม่ได้ผลิตเพียงแค่โทรศัพท์เคลื่อนที่เท่านั้น แต่ยังพัฒนาอุปกรณ์เสริมและเทคโนโลยีต่างๆไปพร้อมๆกันในตัว แนวคิดแรกที่ถือว่าโนเกียเป็ยผู้บุกเบิกเลยก็คือ ความสามารถในการเปลี่ยนหน้ากากซึ่งได้กลายเป็นลูกเล่นหลักของโทรศัพท์เคลื่อนที่จากโนเกียในเวลาต่อมา นอกจากนี้เทคโนโลยีการสนทนาอย่าง Push-to-Talk (PTT) กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ก็มาจากโนเกียอีกเช่นกัน
 
วันที่ [[19 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 2006]] บริษัท Siemens AG ได้เข้ารวมกับโนเกียในการพัฒนาธุรกิจเครือข่าย มุ่งหวังจะกลายเป็นบริษัทเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุด โดยมีส่วนแบ่งเท่าเทียมกันที่ร้อยละ 50 และอยู่ในนามของ Nokia Siemens Networks แต่ภายหลังทางโนเกียได้เข้าซื้อหุ้นส่วนที่บริษัท Siemens AG ได้ถืออยู่คืนทั้งหมดเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2013 ด้วยมูลค่า 1,700 ล้านยูโร (ราวๆ 58,000 บาท) <ref>http://www.blognone.com/node/45963</ref> และได้เปลี่ยนชื่อบริษัทใหม่เป็น Nokia Solutions and Networks (NSN) <ref>https://www.blognone.com/node/47303</ref>
บรรทัด 44:
วันที่ [[2 กันยายน]] [[ค.ศ. 2013]] โนเกียได้ขายกิจการด้านโทรศัพท์ให้ไมโครซอฟท์ทั้งหมด ในราค 7.17 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาในวันที่ 25 เมษายน 2557 ไมโครซอฟท์ได้ก่อตั้ง[[ไมโครซอฟท์ โมบาย]] ซึ่งจะเป็นในฐานะบริษัทลูก<ref>[http://shows.voicetv.co.th/voice-market/103529.html Nokia จะถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Microsoft Mobile]</ref>
 
วันที่ [[18 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 2016]] โนเกียได้หมดสัญญาผูกพันกับทางไมโครซอฟท์ ที่ห้ามดำเนินการจัดจำหน่ายสมาร์ทโฟนในชื่อโนเกีย และได้จัดการมอบสิทธิ์ในการใช้แบรนด์และเทคโนโลยีที่รวมถึงทรัพย์สินทางปัญญาต่างๆ ให้กับทาง [[HMD global]] เป็นตัวแทนในการผลิตและจัดจำหน่ายสมาร์ทโฟนและแท๊บเลตระบบปฏิบัติการ [https://jack88s.com Android]<ref>[http://www.mxphone.net/180516-nokia-comeback-in-smartphone-venture-with-foxconn/ คนคุ้นเคย Nokia เตรียมคืนสังเวียนสมาร์ทโฟนร่วมทุนกับ Foxconn ทำแบรนด์ HMD]</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โนเกีย"