ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไข้หวัดใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jack88s (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น ใส่ชื่อผู้ใช้ในบทความ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
WikiBayer (คุย | ส่วนร่วม)
Reverted edits by Jack88s (talk) to last version by 61.91.217.106: unnecessary links or spam
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว SWViewer [1.4]
บรรทัด 3:
{{ใช้ปีคศ}}
 
'''[https://king99hd.net ไข้หวัดใหญ่]'''เป็น[[การติดเชื้อ|โรคติดเชื้อ]]ที่เกิดจากไวรัสไข้หวัดใหญ่<ref name=WHO2018/> อาการอาจมีได้ตั้งแต่เบาถึงรุนแรง<ref name=CDC2014Key>{{cite web|title=Key Facts about Influenza (Flu) & Flu Vaccine|url=https://www.cdc.gov/flu/keyfacts.htm|website=cdc.gov|accessdate=26 November 2014|date=9 September 2014|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20141202191706/http://www.cdc.gov/flu/keyfacts.htm|archivedate=2 December 2014}}</ref> [[อาการ]]ที่[https://king99star.com พบบ่อย] ได้แก่ ไข้สูง คัดจมูก เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ ไอ จามและรู้สึกเหนื่อย<ref name="WHO2014" /> ตรงแบบอาการเหล่านี้เริ่มสองวันหลังสัมผัสไวรัสและส่วนใหญ่กินเวลาไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์<ref name=WHO2018/> ทว่า อาการไออาจกินเวลานานเกินสองสัปดาห์ได้<ref name=WHO2018/> ในเด็ก อาจมีอาการท้องร่วงและอาเจียนด้วย แต่พบน้อยในผู้ใหญ่<ref name="Dub2011">{{Cite book}}</ref> อาการท้องร่วงและอาเจียนพบบ่อยกว่าใน[[กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ]] ซึ่งเป็นคนละโรคกัน และบางทีเรียกกันผิด ๆ ว่า "หวัดลงกระเพาะ" หรือ "หวัด 24 ชั่วโมง"<ref name="Dub2011" /> ภาวะแทรกซ้อนของไข้หวัดใหญ่อาจได้แก่ ปอดบวมไวรัส, ปอดบวมแบคทีเรียทุติยภูมิ, [[โพรงอากาศอักเสบ|โพรงอากาศติดเชื้อ]], และการทรุดของปัญหาสุขภาพเดิมอย่าง[[โรคหืด]]หรือ[[ภาวะหัวใจวาย]]<ref name=Harr2012/><ref name=CDC2014Key/>
 
ไวรัสไข้หวัดใหญ่ที่มีผลต่อมนุษย์มีสามชนิด ได้แก่ ชนิดเอ ชนิดบี และชนิดซี<ref name=Harr2012>{{cite book|last1=Longo|first1=Dan L. | name-list-format = vanc |title=Harrison's principles of internal medicine.|date=2012|publisher=McGraw-Hill|location=New York|isbn=978-0-07-174889-6|edition=18th|chapter= Chapter 187: Influenza}}</ref><ref name=CDC2017Types>{{cite web |title=Types of Influenza Viruses Seasonal Influenza (Flu) |url=https://www.cdc.gov/flu/about/viruses/types.htm |website=CDC |accessdate=28 September 2018 |language=en-us |date=27 September 2017}}</ref> ยังไม่ทราบกันว่าชนิดดีติดเชื้อในมนุษย์หรือไม่ แต่เชื่อกันว่ามีโอกาสเป็นไปได้<ref name="CDC2017Types" /><ref name=InfD2017>{{cite journal|author1=Shuo Su|author2=Xinliang Fu|author3=Gairu Li|author4=Fiona Kerlin|author5=Michael Veit|title=Novel Influenza D virus: Epidemiology, pathology, evolution and biological characteristics|journal=Virulence|volume=8|issue=8|pages=1580–91|date=25 August 2017|pmid=28812422|pmc=5810478|doi=10.1080/21505594.2017.1365216}}</ref> ปกติ ไวรัสมีการแพร่ทางอากาศระหว่างการไอหรือจาม<ref name=WHO2018/> เชื่อกันว่าส่วนใหญ่เกิดในระยะห่างค่อนข้างใกล้<ref name=Brankston2007>{{cite journal |vauthors=Brankston G, Gitterman L, Hirji Z, Lemieux C, Gardam M |title=Transmission of influenza A in human beings |journal=Lancet Infect Dis |volume=7 |issue=4 |pages=257–65 |date=April 2007 |pmid=17376383 |doi=10.1016/S1473-3099(07)70029-4}}</ref> นอกจากนี้ยังสามารถแพร่ได้โดยการสัมผัสพื้นผิวที่ปนเปื้อนไวรัสแล้วนำมาสัมผัสปากหรือตา<ref name=CDC2014Key/><ref name="Brankston2007" /> บุคคลอาจติดต่อโรคแก่ผู้อื่นได้ทั้งก่อนและระหว่างที่แสดงอาการ<ref name="CDC2014Key" /> สามารถยืนยันการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ได้โดยการทดสอบลำคอ เสมหะ หรือจมูกเพื่อหาเชื้อไวรัส<ref name="Harr2012" /> มีการทดสอบให้ผลเร็วหลายชนิด แต่บุคคลยังอาจมีโรคอยู่ได้แม้ผลออกมาเป็นลบ<ref name="Harr2012" /> ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลีเมอเรสชนิดตรวจจับอาร์เอ็นเอของไวรัสมีความแม่นยำกว่า<ref name="Harr2012" />
 
การล้างมือบ่อย ๆ [https://jack88s.com ลดความเสี่ยง]การแพร่เชื้อไวรัส<ref name=Jeff2011>{{cite journal |vauthors=Jefferson T, Del Mar CB, Dooley L, etal |title=Physical interventions to interrupt or reduce the spread of respiratory viruses|journal=Cochrane Database Syst Rev |volume= |issue=7 |page=CD006207 |year=2011 |pmid=21735402|doi=10.1002/14651858.CD006207.pub4|url=http://espace.library.uq.edu.au/view/UQ:245459/UQ245459_OA.pdf}}</ref> การสวม[[ผ้าปิดจมูก]]ก็มีประโยชน์<ref name="Jeff2011" /> [[องค์การอนามัยโลก]]แนะนำการได้รับ[[วัคซีนไข้หวัดใหญ่]]ประจำปีสำหรับผู้มีความเสี่ยงสูง<ref name=WHO2014/> ปกติวัคซีนมีประสิทธิภาพป้องกันไข้หวัดใหญ่สามหรือสี่ชนิด<ref name=WHO2018/> ปกติผู้ได้รับวัคซีนไม่ค่อยมีผลเสีย<ref name=WHO2018/> วัคซีนเพื่อผลิตขึ้นสำหรับหนึ่งปีอาจไม่มีประโยชน์ในปีถัดไป เพราะไวรัสวิวัฒนาการอย่างรวดเร็ว<ref name=WHO2018/> [[ยาต้านไวรัส]]อย่างตัวยับยั้งนิวรามินิเดส [[โอเซลทามิเวียร์]] เป็นต้น มีการใช้รักษาไข้หวัดใหญ่<ref name=WHO2018/> ดูแล้วยาต้านไวรัสในผู้สุขภาพดีมีประโยชน์ไม่มากกว่าความเสี่ยง<ref name=Mich2013>{{cite journal |vauthors=Michiels B, Van Puyenbroeck K, Verhoeven V, Vermeire E, Coenen S |title=The value of neuraminidase inhibitors for the prevention and treatment of seasonal influenza: a systematic review of systematic reviews |journal=PLOS One |volume=8 |issue=4 | page=e60348 |year=2013 |pmid=23565231 |pmc=3614893 |doi=10.1371/journal.pone.0060348 |bibcode=2013PLoSO...860348M}}</ref> ไม่พบ[https://jack88.biz ประโยชน์]ในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพอื่น<ref name=Mich2013/><ref name=Ebe2013>{{cite journal |vauthors=Ebell MH, Call M, Shinholser J |title=Effectiveness of oseltamivir in adults: a meta-analysis of published and unpublished clinical trials |journal=Family Practice | volume=30 |issue=2 |pages=125–33 |date=April 2013 |pmid=22997224 |doi=10.1093/fampra/cms059}}</ref>
 
ไข้หวัดใหญ่ระบาดทั่วโลกในการระบาดทั่วประจำปี ส่งผลให้มีผู้ป่วยรุนแรง 3 ถึง 5 ล้านคนและมีผู้เสียชีวิตประมาณ 290,000 ถึง 650,000 คน<ref name=WHO2018>{{cite web | title=Influenza (Seasonal) | website=[[World Health Organization]] (WHO) | date=6 November 2018 | url=https://www.who.int/en/news-room/fact-sheets/detail/influenza-(seasonal) | archive-url=https://web.archive.org/web/20191130202510/https://www.who.int/en/news-room/fact-sheets/detail/influenza-(seasonal) | archive-date=30 November 2019 | url-status=live | access-date=30 November 2019}}</ref><ref name=WHO2017>{{cite press release | title=Up to 650 000 people die of respiratory diseases linked to seasonal flu each year | website=[[World Health Organization]] (WHO) | date=14 December 2017 | url=https://www.who.int/news-room/detail/14-12-2017-up-to-650-000-people-die-of-respiratory-diseases-linked-to-seasonal-flu-each-year | archive-url=https://web.archive.org/web/20190418130022/https://www.who.int/news-room/detail/14-12-2017-up-to-650-000-people-die-of-respiratory-diseases-linked-to-seasonal-flu-each-year | archive-date=18 April 2019 | url-status=live | access-date=24 September 2019}}</ref> เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนประมาณ 20% และผู้ใหญ่ที่ไม่ได้รับวัคซีน 10% มีการติดเชื้อทุกปี<ref>{{cite journal |vauthors=Somes MP, Turner RM, Dwyer LJ, Newall AT |title=Estimating the annual attack rate of seasonal influenza among unvaccinated individuals: A systematic review and meta-analysis |journal=Vaccine |volume=36 |issue=23 |pages=3199–3207 |date=May 2018 |pmid=29716771 |doi=10.1016/j.vaccine.2018.04.063 }}</ref> ในซีกโลกเหนือและใต้ของโลก เกิดการระบาดส่วนใหญ่ในฤดูหนาว ส่วนรอบเส้นศูนย์สูตรอาจเกิดการระบาดได้ตลอดปี<ref name=WHO2018/> ส่วนใหญ่ผู้เสียชีวิตได้แก่ เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีปัญหาสุขภาพอื่น<ref name=WHO2018/> [[การระบาดทั่วของไข้หวัดใหญ่|การระบาดใหญ่]]ที่เรียก[[โรคระบาดทั่ว]]นั้นพบน้อยกว่า<ref name="Harr2012"/> ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เกิดการระบาดทั่วของไข้หวัดใหญ่สามครั้ง ได้แก่ [[ไข้หวัดใหญ่สเปน]]ในปี 1918 (ผู้เสียชีวิต ~50 ล้านคน), ไข้หวัดใหญ่เอเชียในปี 1957 (ผู้เสียชีวิต 2 ล้านคน), และ[[ระดับการระบาดของเชื้อโรค|ไข้หวัดใหญ่ฮ่องกง]]ในปี 1968 (ผู้เสียชีวิต 1 ล้านคน)<ref name="TenThings">{{cite web |url=http://www.who.int/csr/disease/influenza/pandemic10things/en/index.html |publisher=World Health Organization |date=14 October 2005 |title=Ten things you need to know about pandemic influenza|access-date=26 September 2009 |archive-url=https://web.archive.org/web/20091008223707/http://www.who.int/csr/disease/influenza/pandemic10things/en/index.html |archive-date=8 October 2009 }}</ref> องค์การอนามัยโลกประกาศการระบาดของไข้หวัดใหญ่ชนิดเอ/เอช1เอ็น1 สายพันธุ์ใหม่เป็น[[การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009|โรคระบาดทั่วในเดือนมิถุนายน 2009]]<ref>{{cite web |url=http://www.who.int/mediacentre/news/statements/2009/h1n1_pandemic_phase6_20090611/en/index.html |title=World now at the start of 2009 influenza pandemic|publisher=World Health Organization|date=11 June 2009|last=Chan|first=Margaret |access-date=12 June 2009 |deadurl=no |archive-url=https://web.archive.org/web/20090612153009/http://www.who.int/mediacentre/news/statements/2009/h1n1_pandemic_phase6_20090611/en/index.html |archive-date=12 June 2009 }}</ref> ไข้หวัดใหญ่ยังอาจติดในสัตว์อื่น ได้แก่ หมู ม้าและนกได้<ref>{{cite book | vauthors= Palmer SR |title=Oxford textbook of zoonoses : biology, clinical practice, and public health control|date=2011|publisher=Oxford Univ. Press|location=Oxford u.a.|isbn=978-0-19-857002-8|page=332|edition=2.|url=https://books.google.com/books?id=S90mOwgdz9kC&pg=PA332}}</ref>
บรรทัด 287:
การวิจัยเรื่องไข้หวัดใหญ่รวมการศึกษาวิทยาไวรัสโมเลกุล พยาธิกำเนิด การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันของตัวถูกเบียน จีโนมิกส์ไวรัส และวิทยาการระบาด การศึกษาเหล่านี้ช่วยพัฒนามาตรการตอบโต้ไข้หวัดใหญ่ ตัวอย่างเช่น ความเข้าใจระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายที่ดีขึ้นช่วยพัฒนาวัคซีน และภาพรายละเอียดวิธีที่ไข้หวัดใหญ่บุกรุกเซลล์ช่วยพัฒนายาต้านไวรัส โครงการวิจัยพื้นฐานหนึ่ง ได้แก่ โครงการเรียงลำดับจีโนมไข้หวัดใหญ่ ซึ่งสร้างคลังลำดับไข้หวัดใหญ่ คลังนี้ช่วยทำให้ปัจจัยที่ทำให้สายพันธุ์ไวรัสหนึ่งมีอัตราตายมากกว่าสายพันธุ์อื่นกระจ่างมากขึ้น ยีนใดมีผลต่อการก่อกำเนิดภูมิคุ้มกันมากที่สุด และไวรัสวิวัฒนาการอย่างไรตามเวลา<ref>[http://msc.tigr.org/infl_a_virus/index.shtml Influenza A Virus Genome Project] {{webarchive|url=https://archive.is/20060522115231/http://msc.tigr.org/infl_a_virus/index.shtml |date=22 May 2006 }} at The Institute of Genomic Research. Retrieved 19 October 2006</ref>
 
การวิจัยวัคซีนใหม่มีความสำคัญเป็นพิเศษ เพราะวัคซีนปัจจุบันผลิตได้ช้ามากและมีราคาแพง และจำเป็นต้องมีการปรับสูตรใหม่ทุกปี การเรียงลำดับจีโนมไข้หวัดใหญ่และเทคโนโลยีดีเอ็นเอสายผสมอาจเร่งการก่อกำเนิดไวรัสสายพันธุ์ใหม่เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์ทดแทนแอนติเจนใหม่เข้าสู่สายพันธุ์วัคซีนที่พัฒนาก่อน[https://sudapapay.com หน้า]ก่อนหน้านี้<ref>{{cite book |vauthors=Subbarao K, Katz J |title=Influenza vaccines generated by reverse genetics |journal=Curr Top Microbiol Immunol |volume=283 |issue=|pages=313–42 |year=2004|pmid=15298174 |doi=10.1007/978-3-662-06099-5_9|series=Current Topics in Microbiology and Immunology |isbn=978-3-642-07375-5 }}</ref> นอกจากนี้ ปัจจุบันกำลังมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่เพื่อเพาะไวรัสในการเพาะเลี้ยงเซลล์ ซึ่งจะให้ผลมากกว่า ราคาถูกกว่า มีคุณภาพดีกว่า และมีสมรรถนะมากขึ้น<ref>{{cite journal |vauthors=Bardiya N, Bae J |title=Influenza vaccines: recent advances in production technologies |journal=Appl Microbiol Biotechnol |volume=67 |issue=3 |pages=299–305 |year=2005 |pmid=15660212 | doi=10.1007/s00253-004-1874-1}}</ref> การวิจัยเรื่องวัคซีนไข้หวัดใหญ่เอสากล ซึ่งมุ่งเป้าโดเมนภายนอกของโปรตีนเอ็ม2 ข้ามเยื่อของไวรัส (M2e) อยู่ระหว่างดำเนินการที่มหาวิทยาลัยเกนต์โดยวัลเทอร์ เฟียส์, ซาเวียร์ เซเลนส์และคณะ<ref>{{cite journal |vauthors=Neirynck S, Deroo T, Saelens X, Vanlandschoot P, Jou WM, Fiers W |title=A universal influenza A vaccine based on the extracellular domain of the M2 protein |journal=Nat. Med. |volume=5 |issue=10 |pages=1157–63 |date=October 1999 |pmid=10502819 |doi=10.1038/13484 }}
</ref><ref>{{cite journal |vauthors=Fiers W, Neirynck S, Deroo T, Saelens X, Jou WM |title=Soluble recombinant influenza vaccines |journal=Philosophical Transactions of the Royal Society B |volume=356 |issue=1416 |pages=1961–63 |date=December 2001 |pmid=11779398 |pmc=1088575 |doi=10.1098/rstb.2001.0980 }}</ref><ref>{{cite journal |vauthors=Fiers W, De Filette M, Birkett A, Neirynck S, Min Jou W |title=A "universal" human influenza A vaccine |journal=Virus Res. |volume=103 |issue=1–2 |pages=173–76 |date=July 2004 |pmid=15163506 |doi=10.1016/j.virusres.2004.02.030 }}</ref> และปัจจุบันสิ้นสุดการทดลองทางคลินิกระยะที่ 1 สำเร็จแล้ว มีความสำเร็จในการวิจัยบ้างต่อ "วัคซีนไข้หวัดใหญ่สากล" ซึ่งผลิตแอนติบอดีต่อโปรตีนที่อยู่บนโค้ตไวรัสซึ่งกลายพันธุ์ช้ากว่า ฉะนั้นวัคซีนเข็มเดียวสามารถให้การป้องกันที่อยู่นานขึ้น<ref>{{cite journal |vauthors=Petsch B, Schnee M, Vogel AB, etal |title=Protective efficacy of in vitro synthesized, specific mRNA vaccines against influenza A virus infection |journal=Nat. Biotechnol. |date=November 2012 |pmid=23159882 |doi=10.1038/nbt.2436 |volume=30 |issue=12 |pages=1210–16}}</ref><ref>{{cite news | work = The Telegraph | url = https://www.telegraph.co.uk/health/healthnews/8625929/Universal-flu-vaccine-a-step-closer.html | title = Universal flu vaccine a step closer | author = Stephen Adams | date = 8 July 2011 | deadurl = no | archiveurl = https://web.archive.org/web/20110714011117/http://www.telegraph.co.uk/health/healthnews/8625929/Universal-flu-vaccine-a-step-closer.html | archivedate = 14 July 2011 | df = dmy-all }}</ref><ref>{{cite journal | vauthors = Ekiert DC, Friesen RH, Bhabha G, Kwaks T, Jongeneelen M, Yu W, Ophorst C, Cox F, Korse HJ, Brandenburg B, Vogels R, Brakenhoff JP, Kompier R, Koldijk MH, Cornelissen LA, Poon LL, Peiris M, Koudstaal W, Wilson IA, Goudsmit J | display-authors = 6 | title = A highly conserved neutralizing epitope on group 2 influenza A viruses | journal = Science | volume = 333 | issue = 6044 | pages = 843–50 | date = August 2011 | pmid = 21737702 | pmc = 3210727 | doi = 10.1126/science.1204839 | bibcode = 2011Sci...333..843E }}</ref>