ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักดินา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 35:
 
== ความสัมพันธ์ทางชนชั้น ==
ไพร่ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของสังคมนั้นถูกจำกัดการใช้ประโยชน์ชองที่ดินอย่างยิ่ง แม้ว่าไพร่จะได้รับระบุศักดินาซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ที่สามารถถือครองที่ดินได้สูงสุดนั้น แต่ในความเป็นจริงต้องสังกัดอยู่กับขุนนางอยู่ดี ขุนนางเหล่านั้นสามารถสั่งให้ไพร่ลงแรงทำนาในที่นาของตนแล้วเสียเรียกเก็บส่วยให้แรงงานเกณฑ์<ref name="จิตร"/>{{rp|165}} ในการทำนา ไพร่ต้องเสียอากรค่านาให้หลวง และถูกบังคับขายให้หลวงไร่ละ 2 ถังโดยได้เงินครึ่งเดียว<ref name="จิตร"/>{{rp|202}} ทั้งนี้อากรค่านาเป็นรายได้หลักของราชสำนักสมัยก่อน<ref name="จิตร"/>{{rp|205}} นอกจากนี้ มีการศึกษาพบว่าการทำกสิกรรมในพื้นที่น้อยกว่า 6 ไร่มีแต่ขาดทุน<ref name="จิตร"/>{{rp|151}} บางคนที่เช่าที่นาคนอื่นทำกินต้องเสียทั้งค่าเช่า และอากรค่านาให้หลวงแทนเจ้าของที่ดินด้วย จึงเป็นเหตุให้ไพร่ต้องกู้หนี้ยืมสินเป็นจำนวนมาก โดยอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 37.5 ต่อเดือน (หรือร้อยละ 450 ต่อปี)<ref name="จิตร"/>{{rp|166}} เมื่อสิ้นเนื้อประดาตัว บ้างก็ขายลูกเมียหรือตนเองไปเป็นทาส บ้างไปเล่นพนันหรือหวยเพื่อหวังมีเงินทอง หญิงบางคนก็ขายตัวเองเป็นโสเถณี
 
{{โครงส่วน}}