ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารหนู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 85:
เมื่อเผาสารหนูจะได้[[อาร์เซนิกเซสควิออกไซด์]] (As<sub><small>4</small></sub>O<sub><small>6</small></sub>) ซึ่งมีกลิ่นกระเทียม มักเรียกกันว่า '''"สารหนูขาว"''' ละลายในน้ำได้เล็กน้อย ให้สารละลายกรดอาร์เซเนียส As<sub><small>4</small></sub>O<sub><small>6</small></sub> เป็น[[แอมโฟเทอริก]] แต่ค่อนข้างเป็นกรดมากกว่าเบส ละลายได้ดีใน[[แอลคาไล]]โดยให้[[อาร์เซไนต์]]
 
สาระหนูสารหนูไม่ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนโดยตรงในการให้[[อาร์เซนิกเพนทอกไซด์]] (As<sub><small>2</small></sub>O<sub><small>5</small></sub>) ซึ่งกรณีนี้ไม่เหมือนฟอสฟอรัสที่ให้ฟอสฟอรัสเพนทอกไซด์ (P<sub><small>2</small></sub>O<sub><small>5</small></sub>) แต่จะเตรียม As<sub><small>2</small></sub>O<sub><small>5</small></sub> ได้จากการออกซิไดส์สารหนูด้วยกรดไนทริก As<sub><small>2</small></sub>O<sub><small>5</small></sub> ละลายได้ดีใน[[น้ำ]]โดยให้สารละลายกรดอาร์เซนิก
 
สารหนูรวมกับ[[แฮโลเจน]]ได้โดยตรงและให้[[อาร์เซนิกไทรแฮไลด์]] หรือจะใช้ปฏิกิริยาระหว่างออกไซด์หรือซัลไฟด์กับแฮโลเจนก็ได้
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สารหนู"