ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบฟิวดัล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ศักดินายุโรป: ตามนิยามศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ขาดสรุป}}
{{Economic systems sidebar|expanded=by ideology}}
'''ระบบฟิวดัล'''หรือ'''ระบบเจ้าขุนมูลนาย''' ({{lang-en|feudalism}}) เป็นระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกว่า '''ระบบศักดินา'''
 
=== พื้นฐานและที่มาของระบบ ===
== ศักดินาไทย ==
ศักดินา คือ ตัววัดความเหลื่อมล้ำทางสังคม และ พินัย ในกรณีขึ้นศาล คนที่ถือศักดินาสูง เมื่อทำผิดจะถูกลงโทษหนักกว่าผู้มีศักดินาต่ำ การปรับในศาลหลวง ค่าปรับนั้นก็เอาศักดินาเป็นบรรทัดฐาน การกำหนดระบบศักดินาขึ้นมาก็เพื่อประโยชน์ในการกำหนดสิทธิและหน้าที่ของประชาชน หน่วยที่ใช้ในการกำหนดศักดินา ใช้จำนวนไร่เป็นเกณฑ์ แต่มิได้หมายความว่าศักดินาจะเป็นข้อกำหนดตายตัวเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในการถือครองที่ดิน
 
ศักดินา ไม่เกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดิน เป็นวิธีการลำดับ "ศักดิ์" ของบุคคลตั้งแต่ พระมหาอุปราช ขุนนาง ข้าราชการ ลงไปจนถึงไพร่และทาส โดยกำหนดจำนวนที่นามากน้อยตามศักดิ์ของคนนั้น พระมหาอุปราชมีศักดินา 100,000 ไร่ และสูงสุดของขุนนางคือ ชั้นเจ้าพระยามีศักดินา 10,000 ไร่ คนธรรมดาสามัญมีศักดินา 25 ไร่ ทาสมีศักดินา 5 ไร่ เป็นต้น
 
หากเปรียบเทียบกับระบบราชการ อาจเทียบได้กับ[[ข้าราชการในประเทศไทย|ระบบพีซี]] ซึ่งแบ่งเพื่อให้ทราบระดับข้าราชการ ใน[[สมัยกรุงศรีอยุธยา]] อาจกล่าวได้ว่าเป็นสังคมศักดินา เพราะในสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] (พ.ศ. 1991 - พ.ศ. 2031) พระองค์ได้ทรงตราพระราชกำหนดศักดินาขึ้นมาใช้อย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 1997 โดยกำหนดให้บุคคลทุกประเภทในสังคมไทยมีศักดินาด้วยกันทั้งสิ้น นับตั้งแต่พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนางผู้ใหญ่ ลงไปถึงบรรดาไพร่ ทาส และพระสงฆ์ ยกเว้นองค์พระมหากษัตริย์ ซึ่งมิได้ระบุศักดินาเอาไว้ เพราะทรงเป็นเจ้าของศักดินาทั้งปวง
 
ในส่วนของเจ้าประเทศราช ได้มีการตราพระราชบัญญัติศักดินาเจ้านาย พระยาท้าวแสนเมืองประเทศราช พ.ศ. 2442 โดยเป็นการกำหนดศักดินาของเมืองประเทศราช
 
== ศักดินายุโรป ==
=== พื้นฐานและที่มาของระบบ ===
ระดับชั้นในระบบเจ้าขุนมูลนายของตะวันตกเป็นระบบสังคมและเศรษฐกิจที่เป็นระบบที่ใช้ในสังคมของยุโรปอย่างกว้างขวางในยุคกลาง หัวใจของระบบคือการมอบดินแดนให้เป็นการแลกเปลี่ยนกับการสนับสนุนทางการทหาร
 
เส้น 27 ⟶ 18:
== ดูเพิ่ม ==
* [[ระบบถือครองที่ดินสมัยฟิวดัล]]
==* [[ศักดินาไทย ==]]
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ]]