ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุดมการณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{อุดมการณ์ทางการเมือง}}
'''อุดมการณ์''' ({{lang-en|ideology}}; {{IPA|/ˌʌɪdɪˈɒlədʒi/}}) เป็นกลุ่มของ[[Belief|ความเชื่อ]]หรือปรัชญาที่บถคคลหรือกลุ่มบุคคลยึดถือ โดยเฉพาะยึดถือเป็นเหตุผลที่ไม่ได้เป็น[[ญาณวิทยา]]บริสุทธิ์,<ref>{{Cite book|last=Honderich|first=Ted|url=https://archive.org/details/oxfordcompaniont00hond|title=The Oxford Companion to Philosophy|publisher=Oxford University Press|year=1995|isbn=978-0-19-866132-0|location=|pages=392}}</ref><ref>{{Cite web|last=|first=|date=|title=ideology|url=https://www.lexico.com/definition/ideology|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20200211122517/https://www.lexico.com/definition/ideology|archive-date=2020-02-11|access-date=|website=Lexico}}</ref> in which "practical elements are as prominent as theoretical ones."<ref>[[Maurice Cranston|Cranston, Maurice]]. [1999] 2014. "[https://www.britannica.com/topic/ideology-society Ideology]" (revised). ''[[Encyclopædia Britannica]]''.</ref> อุดมการณ์ในอดีตนั้นใช้ในทฤษฎีและนโยบายทาง[[เศรษฐศาสตร์]], [[ปรัชญาการเมือง|การเมือง]] หรือ[[ศาสนา]] ในธรรมเนียมที่ย้อนกลับไปถึง[[Karl Marx|คาร์ล มารกซ์]] และ [[Friedrich Engels|เฟรนดริก เอนเจิลส์]] งานเขียนในยุคใหม่ ๆ นิยมใช้มันในทางประณามและวิจารณ์มากกว่า<ref name=":1">{{cite web|url=http://www.discourses.org/OldArticles/Politics,%20Ideology%20and%20Discourse.pdf|title=Politics, Ideology, and Discourse|last=van Dijk|first=T. A.|date=2006|website=Discourse in Society|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20110708194631/http://www.discourses.org/OldArticles/Politics,%20Ideology%20and%20Discourse.pdf|archive-date=2011-07-08|accessdate=2019-01-28}}</ref>
'''อุดมการณ์ทางการเมือง''' ({{lang-en|Ideology}}) หมายถึง แนวความคิดทางการเมืองที่นำไปปฏิบัติจริง มีอิทธิพลต่อกระบวนการทางการเมือง ตลอดจนการใช้อำนาจรัฐ และการให้ความชอบธรรมแก่รัฐบาล นอกจากนี้ยังสะท้อนสภาพของสังคมและวัฒนธรรมทางการเมืองของแต่ละชุมชน
 
อุดมการณ์ทางการเมืองจะมีส่วนประกอบที่สำคัญคือ
# ลักษณะที่ชัดเจน
# ประติดประต่อกัน
# เป็นระบบ
 
ในแง่มุมนี้อุดมการณ์ก็คือความคิดชุดหนึ่งเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง หรือการปกป้องโครงสร้างของการเมืองที่อยู่ รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวข้อง จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับการกระจายอำนาจทางการเมือง และมีลักษณะเป็นข้อถกเถียงเชิงบรรทัดฐานที่สนับสนุนโครงสร้างปฏิรูป หรือต่อต้านการเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนั้น อุดมการณ์จึงมิใช่เป็นเพียง[[ปรัชญาการเมือง]] อุดมการณ์ทางการเมืองจะเรียกร้องให้มีการกระทำ อุดมการณ์ทางการเมืองมักจะเชื่อมโยงกับกลุ่มคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นพิเศษ
 
คำว่า Ideology นั้นริเริ่มขึ้นโดย [[Antoine Destutt de Tracy]] [[The Enlightenment|ปราชญ์]][[Aristocracy (class)|ชนชั้นปกครอง]]และ[[ปรัชญา|นักปรัชญา]]ชาว[[ฝรั่งเศส]] เมื่อปี ค.ศ. 1796 โดยให้นิยามว่าเป็น "ศาสตร์แห่งแนวคิด" (science of ideas) เพื่อพัฒนาระบบเหตุผลของแนวสำหรับต่อต้านแรงผลักดันซึ่งไร้เหตุผลของฝูงชน ในมุมมองทาง[[รัฐศาสตร์]] คำนี้ถูกใช้ในเชิง[[Linguistic description|อธิบาย]] มากกว่าที่จะใช้สื่อถึง[[List of political ideologies|ระบบความเชื่อทางการเมือง]]<ref name=":1" />
 
==อ้างอิง==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ปรัชญาการเมือง]]