ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZeroSixTwo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
}}
 
[[ไฟล์:อาคารเรียนหลังเก่า.jpg|right|thumb|อาคารเรียนหลังเก่า ที่วัดโพธาราม|link=Special:FilePath/อาคารเรียนหลังเก่า.jpg]]
 
=== '''โรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี''' เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งที่สองของ[[จังหวัดราชบุรี]] เริ่มมีการเล่าเรียนเมื่อปีใดไม่ปรากฏ แต่พบหลักฐานใบรับบอกมณฑลราชบุรีที่ 3/1590 ลงวันที่ 19 พฤษภาคม ร.ศ.127(พ.ศ. 2451) ในราชกิจานุเบกษา เล่มที่ 25 หน้า 380 วันที่ 21 มิถุนายน ร.ศ.127<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2451/012/380.PDF การจัดสร้างโรงเรียนขึ้นที่วัดโพธาราม], เล่ม ๒๕, ตอน ๑๒, ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๕๑, หน้า ๓๘๐</ref>จึงถือเอาวันที่ 21 มิถุนายน ของทุกปีเป็นวันสถาปนาโรงเรียน ===
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 34:
ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2451 (ร.ศ. 127) ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 25 หน้าที่ 380 ซึ่งคัดลอกโดยนายสังเวียน รัตนมุง อดีตผู้พิพากษาศาลจังหวัดสมุทรสาคร มีใจความดังนี้
 
'''''" ด้วยใบรับบอกมณฑลราชบุรีที่ 3/1590 ลงวันที่ 19 พฤษภาคม ร.ศ.127 (พ.ศ. 2451) กล่าวว่าโรงเรียนวัด โพธาราม เมืองราชบุรี เดิมได้อาศัยวัดเป็นที่เล่าเรียน แต่เป็นที่คับแคบมาก ด้วยมีนักเรียนทวีมากขึ้น ครั้งเมื่อร.ศ. 125 (พ.ศ. 2449) เจ้าพระคุณธรรมเสนานี(พระแดง) เจ้าอธิการและพระครูโพธาภิรมย์(พระชื่น) รองเจ้าอธิการวัดโพธาราม พร้อมด้วยหลวงราษฎร์โพธาภิบาล นายอาเภอโพธาราม ได้บอกบุญเรี่ยไรเงินแก่ข้าราชการ และราษฎรรวมเป็นเงิน 1,532 บาท และได้ทาการจัดสร้างโรงเรียนขึ้นที่วัดโพธาราม โดยใช้ชื่อว่า " โรงเรียนวัดโพธาราม " โดยมีความกว้าง 4 วา 2 ศอก ยาว 6 วา 2 ศอก และสูง 1 วา 3 ศอกคืบ ใช้เสาไม้เต็งรัง พื้นไม้สิงคโปร์ เครื่องบนไม้สัก หลังคามุงสังกะสี ฝาไม้กระยาเลยทาสีขาว กับทาม้านั่งสาหรับนักเรียนนั่งได้ 2 คน โดยใช้ไม้กระยาเลยและไม้สักรวม 37 ม้านั่งและนั่งได้คนเดียวอีก 20 ม้านั่ง และได้ทาโต๊ะสาหรับวางหนังสือเรียน 22 โต๊ะ ใช้ไม้กระยาเลยและไม้สัก เมื่อแล้วเสร็จในเดือนมีนาคม ร.ศ.126 (พ.ศ. 2450) ได้จัดการฉลองและนิมนต์พระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ 50 รูป และถวายอาหารบิณฑบาตกับได้มีการมโหรสพด้วย 3 วัน เมื่อเสร็จการฉลองแล้ว ได้เปิดโรงเรียนให้นักเรียนศึกษาเล่าเรียนต่อไป "'''''
 
==== '''"โรงเรียนจึงถือเอาวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2451 เป็นวันเกิดโรงเรียน"''' ====
'''ปี พ.ศ. 24532452''' ประชาชนเมืองโพธารามร่วมบริจาคเงินซ่อมบำรุงอาคารเรียนเป็นครั้งที่ 2<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/24532452/D/1846443.PDF การบริจาคทรัพย์บำรุงโรงเรียนวัดโพธาราม], เล่ม ๒๗๒๖, ตอน ๐, ๒๐ พฤศจิกายนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๕๓๒๔๕๒, หน้า ๑๘๔๖๔๔๓</ref><br />
 
'''ปี พ.ศ. 24522453''' ประชาชนเมืองโพธารามร่วมบริจาคเงินซ่อมบำรุงอาคารเรียนเป็นครั้งที่ 2<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/24522453/D/4431846.PDF การบริจาคทรัพย์บำรุงโรงเรียนวัดโพธาราม], เล่ม ๒๖๒๗, ตอน ๐, ๒๐ มิถุนายนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๒๒๔๕๓, หน้า ๔๔๓๑๘๔๖</ref><br />
 
'''ปี พ.ศ. 2458''' อาคารเรียนหลังแรกได้เกิดการชำรุดและนักเรียนได้เพิ่งขึ้น พระครูโพธาภิรมย์(ชื่น)จึงได้ทำการบูรณะอาคารเรียน<br />
'''ปี พ.ศ. 2453''' ประชาชนเมืองโพธารามร่วมบริจาคเงินซ่อมบำรุงอาคารเรียนเป็นครั้งที่ 2<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2453/D/1846.PDF บริจาคทรัพย์บำรุงโรงเรียนวัดโพธาราม] เล่ม ๒๗, ตอน ๐, ๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๓, หน้า ๑๘๔๖</ref><br />
[[ไฟล์:สัญลักษณ์เก่า.jpg|thumb|right|สัญลักษณ์เดิมของโรงเรียน|link=Special:FilePath/สัญลักษณ์เก่า.jpg]]
 
'''ปี พ.ศ. 2479''' ได้บูรณะอาคารเรียนเป็นครั้งที่สองเนื่องจากอาคารเรียนชำรุดและจำนวนนักเรียนเพิ่มขึ้น พระครูโพธาภิวัฒน์(เต็ก)เจ้าอาวาสวัดโพธารามในเวลานั้นเป็นผู้ดำเนินการโดยก่อสร้างอาคารเรียน 2 ชั้น ใช้เงินบริจาคจากประชาชนชาวโพธารามร่วม 9,442.43 บาท และ[[กระทรวงศึกษาธิการ]]จัดสรรงบประมาณสมทบเป็นเงิน 6,000 บาท รวมราคาค่าก่อสร้างเป็นจำนวนเงิน 15,442.43 บาท เป็นอาคารเรียน 2 ชั้น ชั้นบนเป็นไม้ ชั้นล่างเป็นตึก ขนาดกว้าง 9.50 เมตร ยาว 41 เมตร มีห้องเรียน 10 ห้อง กับมุขอีก 4 ห้อง อาคารเสร็จและใช้เป็นอาคารเรียนเมื่อปี พ.ศ. 2479 และได้นำวัสดุที่รื้นถอนจากอาคารเรียนหลังเดิมไปสร้างเป็นโรงอาหาร 1 หลัง<br />
'''ปี พ.ศ. 2458''' อาคารเรียนหลังแรกได้เกิดการชำรุดและนักเรียนได้เพิ่งขึ้น พระครูโพธาภิรมย์(ชื่น)จึงได้ทำการบูรณะอาคารเรียน<br />
[[ไฟล์:สัญลักษณ์เก่า.jpg|thumb|right|สัญลักษณ์เดิมของโรงเรียน]]
 
'''ปี พ.ศ. 2483''' ทางโรงเรียนยังคงเปิดสอนในระดับประถมศึกษา ภายหลังจึงได้ทยอยตัดเหลือแต่สอนในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งเป็นปีแรกที่เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 นับว่าเป็นโรงเรียนระดับอำเภอแห่งแรกในประเทศไทย ที่เปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6<br />
'''ปี พ.ศ. 2479''' ได้บูรณะอาคารเรียนเป็นครั้งที่สองเนื่องจากอาคารเรียนชำรุดและจำนวนนักเรียนเพิ่มขึ้น พระครูโพธาภิวัฒน์(เต็ก)เจ้าอาวาสวัดโพธารามในเวลานั้นเป็นผู้ดำเนินการโดยก่อสร้างอาคารเรียน 2 ชั้น ใช้เงินบริจาคจากประชาชนชาวโพธารามร่วม 9,442.43 บาท และ[[กระทรวงศึกษาธิการ]]จัดสรรงบประมาณสมทบเป็นเงิน 6,000 บาท รวมราคาค่าก่อสร้างเป็นจำนวนเงิน 15,442.43 บาท เป็นอาคารเรียน 2 ชั้น ชั้นบนเป็นไม้ ชั้นล่างเป็นตึก ขนาดกว้าง 9.50 เมตร ยาว 41 เมตร มีห้องเรียน 10 ห้อง กับมุขอีก 4 ห้อง อาคารเสร็จและใช้เป็นอาคารเรียนเมื่อปี พ.ศ. 2479 และได้นำวัสดุที่รื้นถอนจากอาคารเรียนหลังเดิมไปสร้างเป็นโรงอาหาร 1 หลัง<br />
 
'''ปี พ.ศ. 2513''' พื้นที่โรงเรียนเดิมมีที่คับแคบ จึงได้ย้ายเข้ามาอยู่ ณ ตำบลคลองตาคต(ซึ่งเป็นที่อยู่ปัจจุบัน) จำนวน 16 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา<br/>
'''ปี พ.ศ. 2483''' ทางโรงเรียนยังคงเปิดสอนในระดับประถมศึกษา ภายหลังจึงได้ทยอยตัดเหลือแต่สอนในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งเป็นปีแรกที่เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 นับว่าเป็นโรงเรียนระดับอำเภอแห่งแรกในประเทศไทย ที่เปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6<br />
 
'''ปี พ.ศ. 2513''' พื้นที่โรงเรียนเดิมมีที่คับแคบ จึงได้ย้ายเข้ามาอยู่ ณ ตำบลคลองตาคต(ซึ่งเป็นที่อยู่ปัจจุบัน) จำนวน 16 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา<br/>
 
'''ปี พ.ศ. 2514''' ดร.ก่อ สวัสดิพาณิชย์ อธิบดีกรมสามัญศึกษา ได้ขอความร่วมมือจากพ่อค้า ประชาชนชาวโพธาราม จัดตั้งคณะกรรมการการหาเงินซื้อที่ดินเพิ่มเติมให้แก่นักเรียนอีก 24 ไร่ 56 ตารางวา รวมเป็นเนื้อที่ 40 ไร่ 1 งาน 76 ตารางวา และกรมสามัญศึกษาได้จัดสรรหางบประมาณค่าการก่อสร้าง อาคารเรียนแบบ 418 ใต้ถุนโล่งให้แก่โรงเรียน 1 หลัง เป็นเงิน 2,349,000 บาท ห้องน้า 1 หลัง เป็นเงิน 31,000 บาท<br/>
เส้น 183 ⟶ 182:
|-
|00
|<s>นางสาวจุฑามาศ เกิดแก้วฟ้า</s>
|<s>พ.ศ. 2558 - 2559 </s>
|(<small>ยกเลิกคำสั่งแต่งตั้ง)</small>
|-
|25