ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีย่อย:แพทยศาสตร์/บทความแนะนำ4"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: [[ภาพ:Anatomia del corpo humano.jpg|right|120px|ภาพวาดทางกายวิภาคในปี ค.ศ. 1559 โดย Juan Valverde de Amusco ใน...
 
Drgarden (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1:
[[ภาพ: Denguerash.JPG|right|100px| ผื่นลักษณะเฉพาะของไข้เลือดออกเด็งกี]]
[[ภาพ:Anatomia del corpo humano.jpg|right|120px|ภาพวาดทางกายวิภาคในปี ค.ศ. 1559 โดย Juan Valverde de Amusco ในรูปเป็นคนที่มือหนึ่งถือมีดและอีกมือหนึ่งถือผิวหนังของตัวเอง]]
'''[[ไข้เด็งกี]]''' (Dengue fever) หรือในประเทศไทยนิยมเรียกว่า '''ไข้เลือดออก''' เป็น[[โรคติดเชื้อ]]ซึ่ง[[โรคเขตร้อน|ระบาดในเขตร้อน]] เกิดจากการติดเชื้อ[[ไวรัสเด็งกี]] ผู้ป่วยจะมีอาการ[[ไข้]] [[ปวดศีรษะ]] [[ปวดกล้ามเนื้อ]] [[ปวดข้อ]] และมี[[ผื่น]]ลักษณะเฉพาะซึ่ง[[morbilliform|คล้ายกับผื่นของโรคหัด]] ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีอาการรุนแรง จนกลายเป็น'''ไข้เลือดออกเด็งกี''' (Dengue hemorrhagic fever) ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ซึ่งทำให้มี[[เลือดออกง่าย]] มี[[เกล็ดเลือดต่ำ]] และมีการรั่วของ[[พลาสมา]] หรือรุนแรงมากขึ้นเป็น'''กลุ่มอาการไข้เลือดออกช็อก''' (Dengue shock syndrome) ซึ่งมี[[อาการช็อก|ความดันโลหิตต่ำอย่างเป็นอันตราย]]ได้ <small>[[ไข้เด็งกี|อ่านต่อ...]]</small>
'''ประวัติการศึกษาวิชา[[กายวิภาคศาสตร์]]''' เป็น[[วิทยาศาสตร์]]ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของ[[อวัยวะ]]ในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษา[[กายวิภาคศาสตร์มนุษย์]]มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] และต้น[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาใน[[สัตว์]]ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20 <small>[[ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์|อ่านต่อ...]]</small>