ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
}}
 
'''การรุกรานญี่ปุ่นของมองโกล''' ({{nihongo|元寇|Genkō}}) เป็นเหตุการณ์ที่กองทัพของ[[จักรวรรดิมองโกล]] อันประกอบด้วยทหารมองโกล ทหารจีน และทหารเกาหลี เข้ารุกรานญี่ปุ่นสองครั้ง ในปี ค.ศ. 1274 และ ค.ศ. 1281
 
ขณะนั้น จักรวรรดิมองโกลขณะนั้นปกครองดินแดนมากกว่าครึ่งของ[[ทวีปเอเชีย]] และบางส่วนของ[[ทวีปยุโรป]] เป็นชาติมหาอำนาจที่เป็นที่หวั่นเกรงของทุกอาณาจักร ได้นำพาเกาหลีภายใต้[[ราชวงศ์โครยอ]] ซึ่งยอมสวามิภักดิ์ต่อมองโกลมาเป็นแนวร่วมในการรุกรานญี่ปุ่น
 
แม้มองโกลจะมีกำลังทหารที่เหนือกว่าญี่ปุ่นมหาศาล แต่การรุกรานทั้งสองครั้งของมองโกลประสบความล้มเหลวอย่างยิ่งยวดยับเยินอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติที่ร้ายแรง การสูญเสียไพร่พลและทรัพยากรมหาศาลจากการรุกรานทั้งสองครั้ง เป็นการนำมาซึ่งการเสื่อมถอยของจักรวรรดิมองโกล จนล่มสลายในอีก 87 ปีต่อมา
 
== เบื้องหลัง ==
ภายหลังการแผ่ขยายอาณาเขตของมองโกลอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1231-1259 [[พระเจ้าโคจงแห่งโครยอ]]ทรงตระหนักว่า มันยากเย็นนักที่จะต่อต้านมองโกลที่มีกำลังทหารอย่างมหาศาล และการต่อต้านมองโกลนั้นก็อาจจะนำมาซึ่งผลที่ร้ายแรง ดังนั้น เกาหลีจึงได้ยินยอมเป็นประเทศราชของจักรวรรดิมองโกล ในปี ค.ศ. 1258 จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1270 เมื่อมองโกลสามารถยึดครองเกาหลีได้อย่างสมบูรณ์ [[กุบไล ข่าน]] จึงได้สถาปนา[[ราชวงศ์หยวน]]แห่ง [[จักรวรรดิมองโกล]]ขึ้นอย่างสมบูรณ์
 
ญี่ปุ่นในขณะนั้นปกครองโดย "[[ชิกเก็ง]]" (ผู้สำเร็จราชการแทนโชกุน) ที่มาจาก[[ตระกูลโฮโจ]] ซึ่งเป็นตระกูลที่กุมอำนาจบริหารประเทศมาตั้งแต่ ค.ศ. 1203 ในนามของ[[โชกุน]] แห่ง[[รัฐบาลโชกุนคามากูระ]] ซึ่งขณะนั้นมีโชกุนคือ เจ้าชายโคเรยาซุ
 
== การทูต ==
ในปี ค.ศ. 1266 กุบไล ข่าน ได้ส่งคณะทูตไปยังญี่ปุ่น โดยมีผู้รับสาส์นคือ[[โฮโจ โทกิมูเนะ]] ผู้สำเร็จราชการแทนโชกุน (มีการถวายต่อราชสาส์นไปยัง[[พระราชวังหลวงเกียวโต]]เช่นกัน) โดยมีเนื้อความในราชสาสน์ว่า:
 
{{quotation|ขอน้อมนำ[[อาณัติแห่งสวรรค์]] ข่านแห่งมองโกลผู้ทรงเดชานุภาพมีราชสาส์นนี้ถึงพระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นผู้ทรงอำนาจสูงสุดแห่งแดนน้อยอันร่วมขัณฑสีมา นานมาแล้วที่เราได้เป็นห่วงถึงสัมพันธ์ของเราอันจะนำพาไปสู่การเป็นมิตรไมตรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งนับแต่บรรพชนของข้าเรารับบัญชาจากสวรรค์ ดินแดนไกลนับไม่ถ้วนได้ปฏิเสธพลังอำนาจอันน้อยนิดของเรา โครยอได้แสดงไมตรีจิตที่เรายุติสงครามและได้บูรณะประเทศตลอดจนราษฎรของพวกเขาเมื่อข้าได้ขึ้นครองราชย์ สัมพันธ์ของเรานั้นซื่อสัตย์ประดุจพ่อลูก ซึ่งเราคิดว่าท่านทราบเรื่องนี้แล้ว โครยอเป็นประเทศราชทางบูรพาของเรา ซึ่งญี่ปุ่นก็ได้เป็นพันธมิตรต่อโครยอในบางโอกาสพร้อม ๆ กับจีนนับแต่ก่อกำเนิดชาติของท่านมา อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นไม่เคยส่งทูตมาเลยนับแต่การเถลิงราชย์ของข้า เราเกรงว่าอาณาจักรท่านอาจยังไม่ทราบเรื่องนี้ ดังนั้นเราจึงส่งคณะทูตพร้อมกับสาส์นของเราเพื่อแสดงความปรารถนาของเราเป็นพิเศษอันจะนำไปสู่ความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างกันและกันนับแต่บัดนี้ไป เราคาดหวังว่าชาติทั้งหมดจะเป็นครอบครัวหนึ่งเดียว เราต่างมีหนทางที่เห็นควรยกเว้นในกรณีที่เราเข้าใจกัน ไม่มีใครปรารถนาที่จะใช้ความรุนแรง<ref>ข้อความดั้งเดิมเป็นอักษรจีน: 上天眷命大蒙古國皇帝奉書日本國王朕惟自古小國之君境土相接尚務講信修睦況我祖宗受天明命奄有區夏遐方異域畏威懷德者不可悉數朕即位之初以高麗無辜之民久瘁鋒鏑即令罷兵還其疆域反其旄倪高麗君臣感戴來朝義雖君臣歡若父子計王之君臣亦已知之高麗朕之東藩也日本密邇高麗開國以來亦時通中國至於朕躬而無一乘之使以通和好尚恐王國知之未審故特遣使持書布告朕志冀自今以往通問結好以相親睦且聖人以四海為家不相通好豈一家之理哉以至用兵夫孰所好王其圖之不宣至元三年八月日</ref>}}
 
โครยอเป็นประเทศราชทางบูรพาของเรา ซึ่งญี่ปุ่นก็ได้เป็นพันธมิตรต่อโครยอในบางโอกาสพร้อม ๆ กับจีนนับแต่ก่อกำเนิดชาติของท่านมา อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นไม่เคยส่งทูตมาเลยนับแต่การเถลิงราชย์ของเรา เราเกรงว่าอาณาจักรท่านอาจยังไม่ทราบเรื่องนี้ ดังนั้นเราจึงส่งคณะทูตพร้อมกับสาส์นของเราเพื่อแสดงความปรารถนาของเราเป็นพิเศษอันจะนำไปสู่ความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างกันและกันนับแต่บัดนี้ไป เราคาดหวังว่าชาติทั้งปวงจะเป็นครอบครัวหนึ่งเดียว เราต่างมีหนทางที่เหมาะสม ยกเว้นในกรณีที่เข้าใจกัน ไม่มีใครปรารถนาที่จะใช้ความรุนแรง<ref>ข้อความดั้งเดิมเป็นอักษรจีน: 上天眷命大蒙古國皇帝奉書日本國王朕惟自古小國之君境土相接尚務講信修睦況我祖宗受天明命奄有區夏遐方異域畏威懷德者不可悉數朕即位之初以高麗無辜之民久瘁鋒鏑即令罷兵還其疆域反其旄倪高麗君臣感戴來朝義雖君臣歡若父子計王之君臣亦已知之高麗朕之東藩也日本密邇高麗開國以來亦時通中國至於朕躬而無一乘之使以通和好尚恐王國知之未審故特遣使持書布告朕志冀自今以往通問結好以相親睦且聖人以四海為家不相通好豈一家之理哉以至用兵夫孰所好王其圖之不宣至元三年八月日</ref>}}
ซึ่งครั้งนี้ โทกิมูเนะได้นำเรื่องนี้ปรึกษาหารือและพิจารณาอย่างรอบคอบ ซึ่งเขาก็ตัดสินใจที่จะไม่ให้คำตอบใด ๆ กลับไป
 
ซึ่งครั้งนี้ โทกิมูเนะได้นำเรื่องนี้ปรึกษาหารือและพิจารณาอย่างรอบคอบ ซึ่งเขาก็ตัดสินใจที่จะไม่ให้คำตอบใดกลับไป ฝ่ายมองโกลก็ไม่ลดละความพยายาม ได้ส่งคณะทูตชุดที่สองมาญี่ปุ่นในปี 1268 และก็คว้าน้ำเหลวเหมือนครั้งแรก ต่อมาทางมองโกลได้ส่งราชทูตอีก 4 ครั้ง (มีนาคม 1269, กันยายน 1269, กันยายน 1271, พฤษภาคม 1272) พร้อมผู้ติดตามจากโครยอระหว่างปีรยอ 1269-1271 ซึ่งการมาเยือนแต่ละครั้งก็ไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นบก ทางราชสำนักในเกียวโตมีคำแนะนำมาถึงโทกิมูเนะให้ยอมรับข้อเสนอของโครยอ เนื่องจากราชสำนักในเกียวโตเกรงแสนยานุภาพของมองโกล โทกิมูเนะยังคงทำเช่นเดิมคือไม่ตอบกลับใด ๆ ในขณะเดียวกันก็สั่งการขุนนางและกลุ่มซามูไรใน[[เกาะคีวชู]] ซึ่งอยู่ใกล้กับโครยอมากที่สุดให้เตรียมรับมือภัยสงครามที่อาจมาถึง
 
ฝ่ายมองโกลก็ไม่ลดละความพยายาม ได้ส่งคณะทูตมาอีก 4 ครั้งพร้อมผู้ติดตามจากโครยอระหว่างปี 1269-1271 ซึ่งการมาเยือนแต่ละครั้งก็ไม่ได้รับอนุญาตให้ขึ้นบก ทางราชสำนักในเกียวโตมีคำแนะนำมาถึงโทกิมูเนะให้ยอมรับข้อเสนอของโครยอ เนื่องจากราชสำนักในเกียวโตเกรงแสนยานุภาพของมองโกล โทกิมูเนะยังคงทำเช่นเดิมคือไม่ตอบกลับใด ๆ ในขณะเดียวกันก็สั่งการขุนนางและกลุ่มซามูไรใน[[เกาะคีวชู]] ซึ่งอยู่ใกล้กับโครยอมากที่สุดให้เตรียมรับมือภัยสงครามที่อาจมาถึง
 
== การรุกรานครั้งแรก ==
เส้น 62 ⟶ 63:
 
=== ท่าทีของมองโกล ===
ภายหลังจากที่การรุกรานครั้งแรกประสบความล้มเหลว กุบไลข่านก็ได้ส่งราชทูต 5 คนไปยังคีวชูคีวชูเพื่อให้ยอมจำนน (นับเป็นครั้งที่ 5เจ็ด) เพื่อให้ยอมจำนน แต่ก็ไม่ได้รับการตอบกลับจากการที่ โฮโจ โทกิมูเนะ ผู้สำเร็จราชการแทนโชกุนได้ตอบโต้ด้วยการตัดหัวเหล่าทูตหยวน <ref>Reed, Edward J. (1880). {{Google books|sYsIAAAAIAAJ|''Japan: its History, Traditions, and Religions,'' p. 291.|page=291}}</ref> ซึ่งทุกวันนี้ก็ยังมีสุสานของพวกเขาในคามากูระที่ทัตสึโนกูจิ[http://www.kamakura-burabura.com/meisyoenosimajyourituji.htm]
 
การที่ราชทูตถูกประหารทำให้ทางหยวนไม่ทราบว่าเกิดอะไรขึ้น กุบไลข่านก็ยังเห็นว่าอาจเป็นด้วยการสื่อสารที่ผิดพลาด หรือสารไม่ถึงที่หมาย จึงได้จัดให้มีการส่งคณะทูตชุดใหม่ไปเจรจาอีกครั้ง (นับเป็นครั้งที่ 6แปด) ในปี ค.ศ. 1279 แต่กระนั้นโทกิมูเนะก็สั่งให้ประหารทูตเหมือนเดิม
 
== การรุกรานครั้งที่สอง ==