ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 273:
=== อัตราค่าโดยสาร ===
# อัตราค่าโดยสารสำหรับเหรียญโดยสาร
#* บุคคลทั่วไป เริ่มต้น 1617 บาท สูงสุด 42 บาท กรณีเดินทางในสาย และ 48 บาท กรณีเดินทางข้ามสาย โดยคิดจากระยะทางที่สั้นที่สุด
#* เด็ก/ผู้สูงอายุ เริ่มต้น 89 บาท สูงสุด 21 บาท กรณีเดินทางในสาย และ 24 บาท กรณีเดินทางข้ามสาย โดยคิดจากระยะทางที่สั้นที่สุด
# อัตราค่าโดยสารสำหรับบัตร M และ MRT Plus+
#* บุคคลทั่วไป เริ่มต้น 1617 บาทสูงสุด 42 บาท กรณีเดินทางในสาย และ 48 บาท กรณีเดินทางข้ามสาย โดยคิดจากระยะทางที่สั้นที่สุด
#* นักเรียน นักศึกษา เริ่มต้น 1314 บาท สูงสุด 38 บาทกรณีเดินทางในสาย และ 43 บาท กรณีเดินทางข้ามสาย โดยคิดจากระยะทางที่สั้นที่สุด
#* เด็ก/ผู้สูงอายุ เริ่มต้น 89 บาท สูงสุด 21 บาทกรณีเดินทางในสาย และ 24 บาท กรณีเดินทางข้ามสาย โดยคิดจากระยะทางที่สั้นที่สุด
#* อัตราค่าโดยสารพิเศษ ใช้จนกว่าจะมีประกาศเปลี่ยนแปลงจากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
# อัตราค่าโดยสารสำหรับบัตรแมงมุม
#* บุคคลทั่วไป เริ่มต้น 1617 บาทสูงสุด 42 บาท กรณีเดินทางในสาย และ 48 บาท กรณีเดินทางข้ามสาย โดยคิดจากระยะทางที่สั้นที่สุด
#* นักเรียน นักศึกษา เริ่มต้น 1314 บาท สูงสุด 38 บาทกรณีเดินทางในสาย และ 43 บาท กรณีเดินทางข้ามสาย โดยคิดจากระยะทางที่สั้นที่สุด
#* ผู้สูงอายุ เริ่มต้น 89 บาท สูงสุด 21 บาทกรณีเดินทางในสาย และ 24 บาท กรณีเดินทางข้ามสาย โดยคิดจากระยะทางที่สั้นที่สุด
#* บัตรสวัสดิการแห่งรัฐฯ เริ่มต้น 1617 บาทสูงสุด 42 บาท กรณีเดินทางในสาย และ 48 บาท กรณีเดินทางข้ามสาย โดยคิดจากระยะทางที่สั้นที่สุด และในบัตรมีงบค่าโดยสารในบัตรให้เดือนละ 500 บาท
#* ผู้โดยสารต้องเปิดใช้งานบัตรแมงมุมมาจากสายฉลองรัชธรรมก่อนนำมาใช้เดินทางในสายเฉลิมรัชมงคล
# เงื่อนไขการใช้บัตรนักเรียน นักศึกษา
บรรทัด 292:
* การเดินทางข้ามสาย หมายถึง การเดินทางระหว่างรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) และ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม]] (สายสีม่วง) ทั้งนี้ ผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางข้ามสาย สามารถใช้เหรียญหรือบัตรโดยสารในการเดินทางได้โดยไม่ต้องออกจากระบบระหว่างการเปลี่ยนสายรถไฟฟ้าที่[[สถานีเตาปูน]]
* ระยะทางที่สั้นที่สุด หมายถึง การคิดค่าโดยสารจากสถานีต้นทางไปยังสถานีปลายทางผ่านเส้นทางที่สั้นที่สุด โดยตัดจุดกึ่งกลางระบบภายในเส้นวงกลมที่สถานีสุทธิสาร ตัวอย่างเช่น จากสถานีหลักสอง - สถานีจรัญฯ 13 จะคิดค่าโดยสารจากสถานีหลักสองขึ้นมาจนถึงสถานีท่าพระ แล้วลัดไปคิดค่าโดยสารฝั่งจรัญสนิทวงศ์ทันที แม้ผู้โดยสารเลือกเดินทางอ้อมเส้นทางก็ตาม
* อัตราค่าโดยสารบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 อย่างไรก็ดี เพื่อเป็นการบรรเทาผลกระทบจากกรณีการระบาดของโรคโควิด 19 รฟม. ผ่อนปรนให้ใช้อัตราค่าโดยสารเดิมคือ 17-42 บาท จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563
 
=== สิทธิประโยชน์เพิ่มเติม ===