ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซิเลีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{Infobox microanatomy
[[ไฟล์:Cilia.jpg|thumb|ภาพถ่ายหน้าตัดของซีเลีย สังเกตซีเลียมที่มีลักษณะมนกลม จะเห็นว่ามีโครงสร้าง 9+2 อยู่]]
| Name = ซิเลียม (Cilium)
| Latin = Cilium
| Image = Bronchiolar epithelium 3 - SEM.jpg
| Caption = ภาพไมโครกราฟจาก [[Scanning Electron Microscope|SEM]] แสดงภาพของซิเลียบน[[respiratory epithelium|เอพิเธเลียมหายใจ]]ภายในปอด
| Width =
| Image2 =
| Caption2 =
}}
'''ซิเลีย''' (Cilia) หรือรูปเอกพจน์ '''ซิเลียม''' ({{ety|la||[[ขนตา]]}};<ref>Mosby’s Medical, Nursing and Allied Health Dictionary, Fourth Edition, Mosby-Year Book Inc., 1994, p. 336</ref>) เป็น[[ออร์แกเนลล์]]ชนิดหนึ่งที่พบในเซลล์ยูคารีโอต มีรูปทรงเป็นส่วนที่ปูดออก (protuberance) ทรงเพรียวที่ออกมาจาก[[Cell (biology)|ตัวเซลล์]]<ref name="HHMIB2005"/>
 
ซิเลียสามารถแบ่งออกเป็นสองชนิด: ''เคลื่อนไหวได้'' (motile) กับ ''เคลื่อนไหวไม่ได้'' (non-motile) ซิเลียที่เคลื่อนไหวไม่ได้นั้นเรียกอีกชื่อว่า ''ซิเลียปฐมภูมิ'' (primary cilia) โดยทั่วไปแล้วทีหน้าที่เป็นออร์แกเนลล์รับรู้ นอกจากนี้ยังมีซิเลียอีกชนิดหนึ่งที่พบเพียงชั่วคราวใน[[embryonic development|เอมบริโอระยะแรก]]เท่านั้น เรียกว่า ''ซิเลียโหนด'' (nodal cilia) และมีความจำเป็นต่อการก่อเกิดของความอสมมาตรของร่างกายจากซ้ายไปขวา<ref name=Horani>{{Cite journal|last=Horani|first=A|last2=Ferkol|first2=T|date=May 2018|title=Advances in the Genetics of Primary Ciliary Dyskinesia|url=|journal=Chest|volume=154|issue=3|pages=645–652|pmid=29800551|pmc=6130327|doi=10.1016/j.chest.2018.05.007}}</ref>
'''ซีเลีย''' (cilia หรือ cilium ในรูปเอกพจน์) เป็น[[ออร์แกเนลล์]]ที่พบในเซลล์จำพวก[[ยูแคริโอต]] (eukaryotic cell) ซิเลียมีลักษณะบาง ส่วนพัดโบกที่มีลักษณะคล้ายครีบหรือหางจะยื่นออกมาประมาณ 5-10 ไมโครเมตร นับจากผิวเปลือกของ[[เซลล์]]ออกมา ซิเลียมีสองประเภทได้แก่ซิเลียที่เคลื่อนไหว (motile cilia) ซึ่งจะพัดโบกไปในทิศหนึ่งอย่างต่อเนื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่งคือซิเลียที่ไม่เคลื่อนไหว (non-motile cilia) ซึ่งทำหน้าที่เป็นออร์แกเนลล์ประสาทให้กับเซลล์ ซิเลียมีลักษณะทางโครงสร้างคล้ายๆ กับแฟลเจลลัมซึ่งจัดอยู่ในประเภทอุนดูลิโพเดียม (undilopodium) แต่ซิเลียจะต่างกับแฟลเจลลัมตรงที่ มีจำนวนส่วนที่ยื่นออกมาเยอะกว่า[[แฟลเจลลัม]]ที่มีส่วนที่ยื่นออกมาเพียง 1-2 อันเท่านั้น รวมถึงยังมีขนาดเล็กกว่าและสั้นกว่าแฟลเจลลัมอีกด้วย ซิเลียทำหน้าที่ พัดโบกฝุ่นละออง และเมือก
 
ในเซลล์ยูคารีโอต ซิเลียที่เคลื่อนที่ได้และ[[flagellum|แฟลกเจลลา]]ประกอบกันเป็นกลุ่มของออร์แกเนลล์ที่เรียกว่า[[undulipodium|อุนดูลิพอเดีย]] (undulipodia)<ref name=db2004>
โครงสร้างของซิเลียนั้น ประกอบด้วย[[ไมโครทิวบูล]]เรียงตัวกันเป็นวง ซึ่งด้านนอกของวงจะประกอบด้วยไมโครทิวบูลทั้งหมด 9 ชุด แต่ละชุดจะมีไมโครทิวบูล 2 อัน ส่วนตรงกลางของซิเลียนั้นจะมีไมโครทิวบูลอยู่ 2 ชุด แต่ละชุดจะมีไมโครทิวบูล 2 อันเช่นเดียวกัน แทนสัญลักษณ์ของไมโครทิวบูลในซิเลียด้วยตัวเลขเป็น 9+2 ไมโครทิวบูล 2 อันในแต่ละชุดจะเชื่อมกันด้วยแขนโปรตีนไดนีน (Dynien arm) และเมื่อคู่ไมโครทิวบูลในแต่ละชุดเกิดการเลื่อนหรือสไลด์ ก็จะทำให้ซิเลียสามารถโค้งงอได้
[http://www.encyclopedia.com/doc/1O6-undulipodium.html A Dictionary of Biology ], 2004, accessed 6 April 2010.</ref><!-- This is a tertiary source, which is not the best source for Wikipedia per [[Wikipedia:RS#Primary.2C_secondary.2C_and_tertiary_sources]]; however, I've not yet been able to locate a secondary source to support this claim. N2e, 2010-04-06 -->
โครงสร้างของซิเลียในยูคารีโอตนั้นเหมือนกันกับแฟลกเจลลาในยูคารีโอต ถึงแม้ความแตกต่างอาจถูกระบุในแง่ของการใช้งานหรือความยาว<ref name=Haimo_JCB198112>{{cite journal | vauthors = Haimo LT, Rosenbaum JL | title = Cilia, flagella, and microtubules | journal = The Journal of Cell Biology | volume = 91 | issue = 3 Pt 2 | pages = 125s–130s | date = December 1981 | pmid = 6459327 | pmc = 2112827 | doi = 10.1083/jcb.91.3.125s }}</ref>
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{ออร์แกเนลล์}}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ซิเลีย"