ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไพทอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Python Th ซึ่งออกเสียง ธ ใกล้เคียงกับเสียง ท
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Sirakorn (คุย | ส่วนร่วม)
Edited spelling according to article title
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 38:
|- style="vertical-align:top;"
|}
'''ภาษาไพธอนไพทอน''' (Python programming language) หรืออีกชื่อที่คนไทยนิยมเรียกว่า '''ภาษาไพธอนไพทอน''' เป็น[[ภาษาโปรแกรมระดับสูง|ภาษาระดับสูง]]ซึ่งสร้างโดย[[คีโด ฟัน โรสซึม]] โดยเริ่มในปีพ.ศ. 2553 การออกแบบของภาษาไพทอนมุ่งเน้นให้ผู้โปรแกรมสามารถอ่านชุดคำสั่งได้โดยง่ายผ่านการใช้[[:en:off-side rule|งานอักขระเว้นว่าง (whitespaces) จำนวนมาก]] นอกจากนั้นการออกแบบภาษาไพทอนและการประยุกต์ใช้แนวคิดการเขียน[[โปรแกรมเชิงวัตถุ]]ในตัวภาษายังช่วยให้[[โปรแกรมเมอร์|นักเขียนโปรแกรม]]สามารถเขียนโปรแกรมที่เป็นระเบียบ อ่านง่าย มีขนาดเล็ก และง่ายต่อการบำรุง<ref>https://web.archive.org/web/20120623165941/http://cutter.rexx.com/~dkuhlman/python_book_01.html</ref>
 
ไพทอนเป็นภาษาแบบไดนามิกซึ่งรองรับ[[กระบวนทัศน์การเขียนโปรแกรม]]หลายรูปแบบ ซึ่งรวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียงการเขียนโปรแกรมตามลำดับขั้น, การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ, หรือการเขียนโปรแกรมเชิงฟังก์ชัน นอกจากนี้ไพทอนเป็นภาษาที่มักถูกอธิบายว่าเป็นภาษาโปรแกรมแบบ "มาพร้อมถ่าน" (batteries included) กล่าวคือไพทอนมาพร้อมกับ[[:en:Standard Library|ไลบรารีมาตรฐาน]]จำนวนมาก เช่นโครงสร้างข้อมูลแบบซับซ้อน และไลบรารีสำหรับคณิตศาสตร์
บรรทัด 44:
ไพทอนรุ่น 2.0 ซึ่งออกเมื่อปีค.ศ. 2000 มาพร้อมกับเครื่องมือภายในจำนวนมาก เช่นเครื่องมือการสร้างลิสต์ ([[:en:List comprehension|list comprehension]]) และ[[:en:Garbage collection (computer science)|ตัวเก็บขยะ]] (garbage collector) และไพทอนรุ่น 3.0 เป็นไพทอนรุ่นที่ได้รับการปรับปรุงและแก้ไขจำนวนมาก ทว่าความเปลี่ยนแปลงไนไพทอน 3 นั้นเป็นการเปลี่ยนแปลงที่[[:en:Backward compatibility|ไม่เข้ากันแบบย้อนหลัง]] กล่าวคือชุดคำสั่งที่เขียนสำหรับไพทอน 2 อาจไม่ทำงานตามปกติเมื่อสั่งให้ทำงานบนตัวแปลภาษาของไพทอน 3
 
== จุดเด่นของภาษาไพธอนไพทอน ==
=== ความเป็นภาษาสคริปต์ ===
เนื่องจากไพทอนเป็น[[ภาษาสคริปต์]] ทำให้ใช้เวลาในการเขียนและ[[คอมไพล์]]ไม่มาก ทำให้เหมาะกับงานด้าน[[การดูแลระบบ]] (System administration) เป็นอย่างยิ่ง มีการสนับสนุนภาษาไพทอนโดยเป็นส่วนหนึ่งของ[[ระบบปฏิบัติการ]][[ยูนิกซ์]], [[ลินุกซ์]] และสามารถติดตั้งให้ทำงานเป็นภาษาสคริปต์ของวินโดวส์ ผ่านระบบ en:Windows Script Host ได้อีกด้วย
 
=== ไวยากรณ์ที่อ่านง่าย ===
ไวยากรณ์ของไพธอนไพทอนได้กำจัดการใช้สัญลักษณ์ที่ใช้ในการแบ่งบล็อกของโปรแกรม และใช้การย่อหน้าแทน ทำให้สามารถอ่านโปรแกรมที่เขียนได้ง่าย นอกจากนั้นยังมีการสนับสนุนการเขียน docstring ซึ่งเป็นข้อความสั้น ๆ ที่ใช้อธิบายการทำงานของ[[ฟังก์ชัน]], [[คลาส]] และ[[โมดูล]]อีกด้วย
 
=== ความเป็นภาษากาว ===
ไพทอนเป็นภาษากาว (Glue Language) ได้อย่างดีเนื่องจากสามารถเรียกใช้ภาษาโปรแกรมอื่น ๆ ได้หลายภาษา ทำให้เหมาะที่จะใช้เขียนเพื่อประสานงานโปรแกรมที่เขียนในภาษาต่างกันได้
 
== ไพธอนไพทอนในแพลตฟอร์มต่าง ๆ ==
ผู้เขียนโปรแกรมภาษาไพธอนไพทอนสามารถเลือกใช้แพลตฟอร์ม
 
=== ซีไพธอนไพทอน ===
[[ซีไพธอนไพทอน]] (CPython) คือแพลตฟอร์มภาษาไพทอนดั้งเดิม โปรแกรมอินเทอร์พรีเตอร์ถูกเขียนโดย[[ภาษาซี]] ซึ่ง[[คอมไพล์]]ใช้ได้บนหลาย[[ระบบปฏิบัติการ]] เช่น [[วินโดวส์]], [[ยูนิกซ์]], [[ลินุกซ์]] การใช้งานสามารถทำได้โดยการติดตั้งโปรแกรมอินเทอร์พรีเตอร์และ[[แพ็คเกจซอฟต์แวร์|แพ็คเกจ]]ที่จำเป็นต่าง ๆ
 
=== ไจธอน ===
[[ไจธอน]] (Jython) เป็นแพลตฟอร์มภาษาไพทอนที่ถูกพัฒนาบน[[แพลตฟอร์มจาวา]] เพื่อเพิ่มอำนวยความสะดวกในการใช้ความสามารถ[[ภาษาสคริปต์]]ของไพธอนไพทอนลงในซอฟต์แวร์จาวาอื่น ๆ
การใช้งานสามารถทำได้โดยการติดตั้งจาวาและเรียกไลบรารีของไจธอนซึ่งมาในรูปไบนารีเพื่อใช้งาน
 
=== ไพธอนไพทอนดอตเน็ต ===
Python.NET เป็นการพัฒนาภาษาไพธอนไพทอนให้สามารถทำงานบน[[ดอตเน็ตเฟรมเวิร์ก]]ของไมโครซอฟท์ได้ โดยโปรแกรมที่ถูกเขียนจะถูกแปลงเป็น [[CLR]] ปัจจุบันมีโครงการที่นำภาษาไพทอนมาใช้บน .NET Framework ของไมโครซอฟท์แล้วคือโครงการ [[IronPython]]
 
== ไลบรารีในไพทอน ==
บรรทัด 87:
=== ตัวแก้ไขสำหรับไพทอน ===
ผู้ใช้สามารถใช้[[:en:text editor|ตัวแก้ไขข้อความ]]ทั่วไปในการแก้ไขโปรแกรมภาษาไพทอน นอกจากนั้นยังมี [[Integrated Development Environment]]อื่น ๆ ให้เลือกใช้อีก อาทิ
* PyScripter: เป็นชุดเครื่องมือสำหรับพัฒนาภาษาไพธอนไพทอน บนระบบปฏิบัติการวินโดวน์ ที่ให้ผู้ใช้สามารถนำไปใช้ฟรี (open source)
* Python IDLE: มีอยู่ในชุดอินเตอร์พรีเตอร์อยู่แล้ว สามารถเลือกติดตั้งได้
* PythonWin: เป็นตัวแก้ไขในชุดของ PyWin32