ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยคม 6"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mix.natthawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bebiezaza (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับแก้ +เนื้อหา
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}} <!-- [[w:en:บทความ]] -->
{{Infobox spaceflight|auto=all
| name = ไทยคม 6
| image = Thaicom 6 mission logo.png
| image_caption = เครื่องหมายภารกิจของ ''ไทยคม 6''
 
| mission_type = [[ดาวเทียมสื่อสาร|สื่อสาร]]
เส้น 8 ⟶ 9:
| COSPAR_ID = 2014-002A
| SATCAT = 39500
| mission_duration = 15 ปี<ref name="TC6 Service Footprint" />
 
| spacecraft_bus = [[w:en:GEOStar-2|GEOStar-2]]
| manufacturer = {{flagicon|US}} [[w:en:Orbital Sciences Corporation|Orbital Sciences(ปัจจุบันคือ[[ออร์บิทัล Corporationเอทีเค]])
| dry_mass =
| launch_mass = 3,325 กิโลกรัม (7,330 ปอนด์)<ref name{{convert|3325|kg|abbr="TC6 Service Footprint" />on}}
| power = 3.7 กิโลวัตต์ (5.0 แรงม้า)<ref name="orbital-factsheet" />
 
| launch_date = 6 มกราคม พ.ศ. 2557 เวลา 22:06 [[UTC]] 22:06
| launch_rocket = [[ฟัลคอน 9|ฟัลคอน 9 v1.1]]
| launch_site = [[แหลมคะแนเวอรัล]] [[w:en:Cape Canaveral Air Force Station Space Launch Complex 40|SLC-40]]
| launch_contractor = {{flagicon|US}} [[สเปซเอ็กซ์]]
| operator = {{flagicon|THA}} [[ไทยคม (บริษัท)|บมจ. ไทยคม]]
เส้น 26 ⟶ 27:
| deactivated = <!-- {{end-date|[insert date here]}} -->
 
| orbit_epoch =
| orbit_epoch = 25 มกราคม 2558, 02:13:56 UTC<ref name="n2yo">{{cite web|url=http://www.n2yo.com/satellite/?s=39500|title=THAICOM 6 Satellite details 2014-002A NORAD 39500|publisher=N2YO|date=25 January 2015|accessdate=25 January 2015}}</ref>
| orbit_reference = [[w:en:Geocentric orbit|โลกเป็นศูนย์กลาง]]
| Orbit_regimeorbit_regime = [[Geostationary orbit|วงโคจรค้างฟ้า]]
| orbit_periapsis = 35,789 กิโลเมตร (22,238 ไมล์)
| orbit_apoapsis = 35,795 กิโลเมตร (22,242 ไมล์)
| orbit_inclination = 0.07 degrees<ref name="n2yo"/>
| orbit_period = 1436.07 minutes<ref name="n2yo"/>
| oribt_longtitude = 78.5° East<ref name="TC6 Service Footprint" />
| orbit_slot =
| apsis = gee
 
| trans_band = 18 [[C band (IEEE)|C band]] <br/>8 Ku band
| trans_frequency = 72, 36 MHz [[C band (IEEE)|C band]] <br/>54, 36 MHz Ku band
| trans_bandwidth =
| trans_capacity =
| trans_coverage = [[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]], [[แอฟริกา]]
| trans_TWTA =
| trans_EIRP =
เส้น 47 ⟶ 48:
}}
 
'''ไทยคม 6''' ({{lang-en|Thaicom 6}}) เป็น[[ดาวเทียมสื่อสาร]]สัญชาติ[[ไทย]] ผลิตโดย Orbital Sciences Corporation (ปัจจุบันคือ[[ออร์บิทัล เอทีเค]]) และเป็นดาวเทียมดวงที่ 6 ในกลุ่ม[[ดาวเทียมไทยคม]] โดยมี [[ไทยคม (บริษัท)|บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน)]] เป็นผู้เช่าสัมปทาน และมีบริษัท[[สเปซเอ็กซ์]] เป็นผู้ปล่อยดาวเทียม
'''ไทยคม 6''' ({{lang-en|THAICOM 6}}) เป็นดาวเทียมสื่อสารสัญชาติไทยของ[[ไทยคม (บริษัท)|บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน)]] และถือเป็น[[ดาวเทียมไทยคม]]ดวงที่ 6 โดยถูกยิงขึ้นจากฐาน ณ [[แหลมคะแนเวอรัล]] ใน[[รัฐฟลอริดา]] เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2557 โดยบริษัท[[สเปซเอ็กซ์]] ดาวเทียมไทยคม 6 โคจรอยู่ใน[[วงโคจรค้างฟ้า]] ตำแหน่งเดียวกับดาวเทียมไทยคม 5 ที่ตำแหน่ง 78.5 องศาตะวันออก มีจานรับส่งสัญญาณ ซี-แบนด์ (C-Band) จำนวน 18 ช่องรับส่ง และเคยู-แบนด์ (Ku-Band) จำนวน 6 ช่องรับส่ง ซึ่งครอบคลุมการแพร่สัญญาณในภูมิภาค[[เอเชียใต้]]และ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]ทั้งหมด [[ไฟล์:Thaicom 6.jpg|200px|left]]
 
== ภาพรวม ==
การส่งดาวเทียมไทยคม 6 ถือเป็นภารกิจที่ 8 ของจรวด Falcon 9 และเป็นการส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรค้างฟ้าเป็นครั้งที่สองของบริษัทสเปซเอ็กซ์ โดยดาวเทียมที่ถูกส่งขึ้นไปก่อนหน้าคือ SES-8
[[ไฟล์:Thaicom 6.jpg|thumb|left|ดาวเทียมไทยคม 6]]
[[ดาวเทียมสื่อสาร]]ไทยคม 6 ผลิตโดย Orbital Sciences Corporation (ปัจจุบันคือ[[ออร์บิทัล เอทีเค]]) มีน้ำหนักราว 3,325 กิโลกรัม กำหนดอายุใช้งานไว้ประมาณ 15 ปี ซึ่งให้บริการในแถบ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] และ[[ทวีปแอฟริกา]] โคจรอยู่ใน[[วงโคจรค้างฟ้า]]ที่ตำแหน่งบริเวณ 78.5 องศาตะวันออก ร่วมกับ[[ไทยคม 5]] และ[[ไทยคม 8]] มีจานรับส่งสัญญาณ ซี-แบนด์ (C-Band) จำนวน 12 ช่องสำหรับ[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] และ 6 ช่องสำหรับ[[ทวีปแอฟริกา]] และเคยู-แบนด์ (Ku-Band) จำนวน 8 ช่อง สามารถให้บริการด้านโทรคมนาคมได้อย่างเต็มรูปแบบ โดยถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมตรงถึงที่พักอาศัย (DTH)<ref>{{cite web|url=https://www.thaicom.net/th/พื้นที่ให้บริการ/ดาวเทียมไทยคม-6/|title=พื้นที่ให้บริการดาวเทียมไทยคม 6|publisher=[[ไทยคม (บริษัท)]]|accessdate=17 กรกฎาคม 2563}}</ref>
 
== การปล่อยจรวด ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
ไทยคม 6 ถูกยิงขึ้นจากฐาน ณ [[แหลมคะแนเวอรัล]] [[w:en:Cape Canaveral Air Force Station Space Launch Complex 40|SLC-40]] ใน[[รัฐฟลอริดา]] เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2557 โดยบริษัท[[สเปซเอ็กซ์]] ถือเป็นภารกิจที่ 8 ของจรวด Falcon 9 และเป็นการส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรค้างฟ้าเป็นครั้งที่สองของบริษัทสเปซเอ็กซ์ โดยดาวเทียมที่ถูกส่งขึ้นไปก่อนหน้าคือ SES-8<ref>{{cite web|url=https://spacenews.com/38959spacex-delivers-thaicom-6-satellite-to-orbit/|title=SpaceX Delivers Thaicom-6 Satellite to Orbit (ภาษาอังกฤษ)|date=4 มกราคม 2557|accessdate=17 กรกฎาคม 2563}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.americaspace.com/2013/12/20/spacex-targeting-jan-3-for-launch-of-thaicom-6-satellite-from-cape-canaveral/|title=SpaceX Targeting Jan. 3 For Launch of Thaicom 6 Satellite From Cape Canaveral (ภาษาอังกฤษ)|date=20 ธันวาคม 2556|accessdate=17 กรกฎาคม 2563}}</ref>
* [http://www.thaicom.net/satellites/future/thaicom6.aspx ไทยคม 6 ที่เว็บไซต์บริษัทไทยคม]
* [http://www.orbital.com/SatellitesSpace/Communications/Thaicom6/ Thaicom 6] at Orbital.com
* [http://www.spacex.com/sites/spacex/files/spacex_thaicom6_presskit.pdf Thaicom 6 mission overview at SpaceX]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [https://www.thaicom.net/wp-content/uploads/2019/06/20180326-thcom-t6.pdf สื่อประชาสัมพันธ์ดาวเทียมไทยคม 6]
 
{{ดาวเทียมไทยคม}}
 
[[หมวดหมู่:ดาวเทียมไทยคม|6]]
[[หมวดหมู่:ภารกิจอวกาศในปี พ.ศ. 2557]]
[[หมวดหมู่:ดาวเทียมประเทศไทยคมในปี พ.ศ. 2557]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไทยคม_6"