ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษีอากรในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 19:
}}</ref>{{rp|441}}
 
สําหรับสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีแหล่งที่มาของรายได้จาก 3 แหล่งสําคัญคือสำคัญคือ (ก) รายได้ที่ท้องถิ่นจัดหาเอง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในรูปของภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบํารุงท้องที่บำรุงท้องที่ ภาษีป้าย และภาษีบํารุงบำรุงท้องที่จากยาสูบ นํ้ามันและโรงแรม (ข) รายได้ที่ได้จากการจัดสรรภาษีที่รัฐบาลเก็บให้หรือแบ่งให้ท้องถิ่น และ (ค) เงินอุดหนุนจากรัฐบาล ทั้งนี้ รายได้ที่ท้องถิ่นจัดหาเองนั้นยังคิดได้เพียงร้อยละ 9–11 ของรายได้รวม อปท.<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|442}}
 
== ภาษีเงินได้ ==
บรรทัด 34:
ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเป็นภาษีทางอ้อมชนิดหนึ่งที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ซื้อสินค้าและบริการ โดยจัดเก็บเฉพาะจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิต การจำหน่ายหรือการให้บริการ ปัจจุบันจัดเก็บในอัตราร้อยละ 7 ทั้งนี้ เป็นการเก็บตามประมวลรัษฎากรร้อยละ 6.3 และตามกฎหมายขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นร้อยละ 0.7 (1/9 ของอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มที่กรมสรรพากรจัดเก็บตามประมวลรัษฎากร)<ref name="par"/>{{rp|16}} ข้อมูลของกรมสรรพากรระบุว่าในปี 2551 จัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มได้ 503,000 ล้านบาท และมีการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 173,990 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 34.56 ของรายได้ภาษีมูลค่าเพิ่มในปีนั้น<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|464}}
 
ประมวลรัษฎากรยกเว้นกิจการบางประเภทที่ไม่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น กิจการที่ขายพืชผลทางการเกษตร การขายสัตว์และผลพลอยได้ของสัตว์ การขายปุ๋ย การขายอาหารสัตว์ การขายยาหรือเคมีภัณฑ์สําหรับสำหรับพืชหรือสัตว์ การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสารหรือตําราเรียนตำราเรียน การให้บริการขนส่ง การให้บริการรักษาพยาบาล เป็นต้น รวมทั้งผู้ประกอบการที่มีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการไม่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|449}} ยกเว้นการนำเข้าสินค้าบางประเภท เช่น พืชผลทางการเกษตรซึ่งรวมถึงวัตถุพลอยได้จากพืช การนําเข้าปุ๋ยนำเข้าปุ๋ย อาหารสัตว์ ยาหรือเคมีภัณฑ์ นค้าจากต่างประเทศที่นํานำเข้าไปในเขตอุตสาหกรรมการส่งออก เป็นต้น<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|449}} กิจการที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 เช่น สินค้าส่งออกที่ผลิตในเขตปลอดอากร การขายสินค้าหรือการให้บริการระหว่างผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการในเขตปลอดอากรหรือเขตอุตสาหกรรมส่งออก หรือระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บนด้วยกันหรือระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บนกับผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร เป็นต้น<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|449}}
 
การศึกษาของ TDRI พบว่า อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริงนั้นเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ 7 และลดลงตามรายได้ของผู้ประกอบการโดยต่ำสุดคิดเป็นอัตราเฉลี่ยร้อยละ 4<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|449}} นอกจากนี้พบว่ากลุ่มสินค้าส่วนใหญ่มีโครงสร้างอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มแท้จริงมีอัตราลักษณะถดถอย<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|450}} แม้ว่าโครงสร้างภาษีมูลค่าเพิ่มจะมีลักษณะก้าวหน้าเมื่อพิจารณาตามรายจ่ายครัวเรือน แต่การศึกษาหนึ่งพบว่า เมื่อพิจารณาภาระภาษีมูลค่าเพิ่มตามรายได้กลับพบว่าโครงสร้างภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นแบบถดถอย เนื่องจากผู้ประกอบการที่ผลักภาระภาษีให้ผู้บริโภคทั้งหมดทำให้ภาระภาษีของครัวเรือนที่มีรายได้น้อยที่สุดเพิ่มขึ้น<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|455}}
 
=== ภาษีสรรพสามิต ===
ภาษีสรรพสามิตเก็บจากการบริโภคสินค้าและบริการและอาจรวมถึงวัตถุดิบหรือสินค้าที่อยู่ในกระบวนการผลิต มีการเรียกเก็บจากสินค้า 15 ชนิด ประกอบด้วย นํ้ามันและผลิตภัณฑ์นํ้ามัน เครื่องดื่ม เครื่องไฟฟ้า (เฉพาะเครื่องปรับอากาศและโคมระย้าที่ทําทำจากแก้วคริสตัล) แก้วและเครื่องแก้ว รถยนต์ เรือ[[ยอชต์]]และยานพาหนะทางนํ้าที่ใช้เพื่อความสําราญสำราญ ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมและเครื่องสําอางเครื่องสำอาง พรมและสิ่งทอปูพื้นทําทำด้วยขนสัตว์ หินอ่อนและหินแกรนิต (ปัจจุบันยกเว้นภาษี) รถจักรยานยนต์ แบตเตอรี่และถ่านไฟฉาย สถานบริการ สุรายา สูบและไพ่<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|480}} เนื่องจากภาษีสรรพสามิตมีลักษณะเป็นภาษีฝังใน (inclusive tax) ทำให้อัตราภาษีแท้จริงสูงกว่าอัตราที่ประกาศ เช่น วิสกี้นำเข้าเสียภาษีแท้จริงร้อยละ 123<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|480}} รายได้จากเครื่องดื่มแอลกอฮอล น้ำมันและยาสูบคิดเป็นร้อยละ 70–80 ของภาษีสรรพสามิตที่เก็บได้<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|482}} ทั้งสามเป็นสินค้าที่ผู้ประอบการสามารถผลักภาระภาษีไปให้ผู้บริโภคได้มาก เช่น ภาระภาษีของน้ำมันดีเซลตกที่ผู้บริโภคร้อยละ 95–96<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|489–90}} โครงสร้างภาษีสรรพสามิตมีลักษณะถดถอยชัดเจนเมื่อใช้รายได้ครัวเรือนเป็นเกณฑ์<ref name="ชัยสิทธิ์"/>{{rp|484}}
 
== เลิกใช้ ==