ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
AAAERTCM (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกในประเทศไทย''' เป็นการยุติ[[การแพร่สัญญาณ]]ออกอากาศของ[[สถานีโทรทัศน์]]ในระบบ[[โทรทัศน์ระบบแอนะล็อก|แอนะล็อก]]ใน[[ประเทศไทย]] ที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของ[[คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ]] (กสทช.) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 และเสร็จสิ้นในปี พ.ศ. 2563 โดย[[สถานีโทรทัศน์|สถานีโทรทัศน์ฟรีทีวี]]เดิมทั้ง 6 ช่องใน[[ประเทศไทย]] จะทำการยุติการออกอากาศ[[โทรทัศน์ระบบแอนะล็อก]] เพื่อเปลี่ยนผ่านสู่[[โทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัลในประเทศไทย|ระบบดิจิทัล]]
 
== ประวัติ ==
ในปี พ.ศ. 2558 [[สหภาพวิทยุโทรคมนาคมโลกระหว่างประเทศ]] ({{lang-en|International Telecommunications Union}}; ชื่อย่อ: ITU) ประกาศให้ทั่วโลกยุติการออกอากาศ[[โทรทัศน์ระบบแอนะล็อก]]<ref>{{Cite web|url=http://www.prd.go.th/download/article/article_20200515101456.pdf|title=การเปลี่ยนผ่านสู่ระบบโทรทัศน์ดิจิทัลสำหรับประเทศไทย|website=www.prd.go.th|author=[[กรมประชาสัมพันธ์]]|date=18 สิงหาคม 2551|accessdate=2 กรกฎาคม 2563}}</ref> และกลุ่มประเทศใน[[สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] (อาเซียน) ก็ได้เห็นพ้องต้องกันให้ยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกภายในปี พ.ศ. 2563<ref name=":0">{{Cite web|url=https://www.itu.int/en/ITU-D/Regional-Presence/AsiaPacific/Documents/Events/2014/December-DTTB-Thailand/Session4B_Orasri_Srirasa.pdf|title=สถานะการออกอากาศโทรทัศน์ภาคพื้นดินในประเทศไทย|author=[[คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ|กสทช.]] ร่วมกับ ITU|website=www.itu.int|date=4 ธันวาคม 2557|accessdate=2 กรกฎาคม 2563}}</ref> ทำให้ประเทศไทยซึ่งกิจการโทรทัศน์อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ กสทช. ต้องเริ่มดำเนินการเปลี่ยนผ่านระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์จากระบบแอนะล็อกเป็น[[โทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัลในประเทศไทย|ระบบดิจิทัล]] โดย กสทช. ได้ดำเนินการประมูลโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในปี พ.ศ. 2556 และเริ่มออกอากาศตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา แต่ยังไม่ได้ยุติระบบแอนะล็อก เพราะหากยุติกะทันหันจะส่งผลกระทบให้ผู้ที่รับชมผ่านระบบแอนะล็อกซึ่งเป็นส่วนมากของประเทศไม่สามารถรับชมได้เลย จึงทำให้ต้องมีการแบ่งการยุติการออกอากาศเป็นช่วง ๆ<ref>{{Cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/303286|title=กสทช.เดินหน้าทีวีดิจิตอลเฟสแรกปี 56-ยุติอนาล็อก 58|author=[[ไทยรัฐ]]|website=www.thairath.co.th|date=2 พฤศจิกายน 2555|accessdate=2 กรกฎาคม 2563}}</ref> โดยมอบหมายให้[[สถานีโทรทัศน์]][[ฟรีทีวี]]เดิมทั้ง 6 ช่อง ไปจัดทำแผนแม่บทการยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกในปี พ.ศ. 2558 และมีโครงการแจกคูปองสำหรับ[[กล่องรับสัญญาณ]]โทรทัศน์ระบบดิจิทัลรุ่น [[การแพร่สัญญาณภาพดิจิทัลภาคพื้นดินรุ่นที่ 2|DVB-T2]] ในพื้นที่ที่มีสัญญาณโทรทัศน์ระบบดิจิทัลครอบคลุมตั้งแต่ 80% ขึ้นไป<ref name=":0" />
 
15 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ที่ประชุมคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ (กสท.) เห็นชอบแผนการยุติการออกอากาศโทรทัศน์ระบบแอนะล็อกของสถานีโทรทัศน์เจ้าของ[[อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ]] 4 แห่ง คือ[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก|สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5]], [[เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี]], [[สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย]] และ[[สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส]] ซึ่งส่งมาแล้วก่อนหน้านี้ และมอบหมายให้ กสทช. เร่งรัดการส่งแผนการยุติการรับส่งสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ในระบบแอนะล็อกของ[[ช่อง 7 เอชดี|สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] และ[[ช่อง 3 เอชดี|สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3]] เพื่อประกอบการพิจารณากำหนดแผนการยุติการรับส่งสัญญาณวิทยุโทรทัศน์ของประเทศไทย ก่อนนำไปรับฟังความคิดเห็นสาธารณะต่อไป<ref>{{Cite web|url=https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/651917|title=กสท.ไฟเขียวแผนหยุดระบบอนาล็อกฟรีทีวี|author=[[กรุงเทพธุรกิจ]]|website=www.bangkokbiznews.com|date=15 มิถุนายน 2558|accessdate=2 กรกฎาคม 2563}}</ref>
บรรทัด 28:
 
==== สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ====
สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ยุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกในช่วงเวลาต่อไปนี้ จากสถานีส่งดังต่อไปนี้{{บน}}
 
{{บน}}
* 31 มกราคม จากสถานีส่งที่[[จังหวัดร้อยเอ็ด]]
* 31 พฤษภาคม จากสถานีส่งที่[[จังหวัดอุบลราชธานี]]
เส้น 46 ⟶ 47:
** [[จังหวัดพะเยา]]
** [[อำเภอแม่สะเรียง]] [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]]
 
{{กลาง}}
 
* 30 พฤศจิกายน จากสถานีส่งที่
** [[จังหวัดสกลนคร]]
เส้น 83 ⟶ 82:
 
==== สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ====
สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย ยุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกในวันที่ 31 ธันวาคม จากสถานีส่งที่<ref name=":2">[https://www.facebook.com/Broadcast.Engineering.NBTC/photos/a.923218557740949.1073741828.923197744409697/1726205144108949/?type=3&theater "ช่อง 11 หรือ NBT" สถานีโทรทัศน์ระบบแอนะล็อก 50 สถานี ยุติแล้ว 38 สถานี ยังออกอากาศ 12 สถานี (ข้อมูล ณ วันที 26 กุมภาพันธ์ 2561)], Facebook ของสำนักวิศวกรรมและเทคโนโลยีกระจายเสียงและโทรทัศน์ สำนักงาน กสทช.</ref>{{บน}}
 
{{บน}}
* [[จังหวัดนครราชสีมา]]
** [[อำเภอเมืองนครราชสีมา]]
บรรทัด 106:
* [[อำเภอฝาง]] [[จังหวัดเชียงใหม่]]
* [[จังหวัดน่าน]]
 
{{กลาง}}
 
* [[จังหวัดเชียงราย]]
* [[อำเภอเด่นชัย]] [[จังหวัดแพร่]]
เส้น 133 ⟶ 131:
 
==== สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ====
สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ยุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกในช่วงเวลาต่อไปนี้ จากสถานีส่งดังต่อไปนี้{{บน}}
 
{{บน}}
* 16 มิถุนายน จากสถานีส่งที่
** [[จังหวัดสงขลา]]
เส้น 148 ⟶ 147:
** [[จังหวัดเลย]]
** [[จังหวัดชัยภูมิ]]
 
{{กลาง}}
 
* 31 ธันวาคม จากสถานีส่งที่
** [[จังหวัดสุโขทัย]]
เส้น 170 ⟶ 167:
** [[จังหวัดพังงา]]
** [[จังหวัดสุโขทัย]]
{{กลาง}}
* 31 ธันวาคม จากสถานีส่งที่
** [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]]
เส้น 175 ⟶ 173:
*** [[อำเภอแม่สะเรียง]]
*** [[อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน]]
{{กลาง}}
* 31 ธันวาคม จากสถานีส่งที่
** [[จังหวัดแพร่]]
** [[จังหวัดบุรีรัมย์]]
เส้น 193 ⟶ 189:
 
==== สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี ====
[[ไฟล์:MCOT_digital_switch_over_plate.png|thumb|350px|ภาพหน้าจอที่แสดงหลังยุติการแพร่ภาพระบบแอนะล็อกของสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561]]
สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวียุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกในช่วงเวลาต่อไปนี้ จากสถานีส่งดังต่อไปนี้<ref>{{Cite web|url=http://www.janghetchumphon.com/14156|title=ปิดตำนานอนาล็อก!! โมเดิร์นไนน์ นับถอยหลังยุติออกอากาศ แบ่งกำหนดการเป็น 2 ระยะ!!|author=Janghet Chumphon|website=www.janghetchumphon.com|date=20 มีนาคม 2561|accessdate=7 กรกฎาคม 2563}}</ref>{{บน}}
 
เส้น 210 ⟶ 207:
*** [[อำเภอแม่สะเรียง]]
** [[อำเภอตะกั่วป่า]] [[จังหวัดพังงา]]
{{กลาง}}
 
* 16 กรกฎาคม จากสถานีส่งที่
** [[จังหวัดนครราชสีมา]]
เส้น 216 ⟶ 213:
** [[จังหวัดเชียงใหม่]]
** [[จังหวัดอุบลราชธานี]]
 
{{กลาง}}
 
* 16 กรกฎาคม จากสถานีส่งที่
** [[จังหวัดระยอง]]
** [[จังหวัดสิงห์บุรี]]
เส้น 239 ⟶ 232:
** [[จังหวัดนครศรีธรรมราช]]
{{ล่าง}}
และรวมถึงสถานีส่งหลักบน[[อาคารใบหยก 2]] ใน[[กรุงเทพมหานคร]]ด้วย นับเป็นการยุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกอย่างสมบูรณ์ของสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี[[ไฟล์:MCOT_digital_switch_over_plate.png|link=https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:MCOT_digital_switch_over_plate.png|thumb|ภาพที่แสดงหลังยุติการแพร่ภาพระบบแอนะล็อกของสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561|alt=|center|480x480px]]
 
==== สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ====
สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ยุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน<ref>[https://www.facebook.com/Broadcast.Engineering.NBTC/videos/1853227548073374/ เช้าวันนี้ (21 มิถุนายน 2561) สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ยุติแอนะล็อกทีวี ณ กรมการทหารสื่อสาร สะพานแดง เมื่อเวลา 9.29 น. ซึ่งถือเป็นสถานีเครื่องส่งแอนะล็อกทีวีสถานีสุดท้ายของ ททบ.5],สำนักวิศวกรรมและเทคโนโลยีกระจายเสียงและโทรทัศน์ สำนักงาน กสทช.</ref> จากสถานีส่งที่<ref>[https://yarmfaojor.com/content/553 อัปเดต: ThaiPBS, ช่อง 7, ช่อง 5 ยุติทีวีอนาล็อกเมื่อไหร่กันแน่?],ยามเฝ้าจอ.</ref>{{บน}}
เส้น 327 ⟶ 321:
 
=== พ.ศ. 2563 ===
[[ไฟล์:Ch.3_Terminate_broadcast_in_analog.png|thumb|350px|ภาพหน้าจอที่แสดงก่อนยุติการแพร่ภาพระบบแอนะล็อกของสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2563<!--ภาพแจ้งยุติการออกอากาศ ตามด้วยเพลงสรรเสริญพระบารมี และแท่งสีตามลำดับ-->]]
มี 1 ช่องที่ยุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกในปีนี้ คือสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยได้ทำการยุติการออกอากาศในระบบแอนะล็อกจากสถานีส่งทุกแห่งทั่วประเทศ เมื่อเวลา 00.01 น. ของวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 รวมระยะเวลาในการออกอากาศระบบแอนะล็อกทั้งสิ้น 50 ปี ตามระยะเวลาที่กำหนดในสัญญาสัมปทานในกิจการส่งโทรทัศน์ระหว่าง บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด (บีอีซี) กับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) (บมจ.อสมท) และถือเป็นการยุติการออกอากาศระบบแอนะล็อกในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ เนื่องจากเป็นสถานีโทรทัศน์ของไทยช่องสุดท้ายที่ยุติการออกอากาศในระบบนี้<ref name=":1" />[[ไฟล์:Ch.3_Terminate_broadcast_in_analog.png|link=https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Ch.3_Terminate_broadcast_in_analog.png|thumb|ภาพที่แสดงหลังยุติการแพร่ภาพระบบแอนะล็อกของสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563|alt=|center|480x480px]]
== สถานีโทรทัศน์ระบบดิจิทัลที่สืบเนื่องมาจากระบบแอนะล็อก ==
 
== สถานีโทรทัศน์ระบบดิจิทัลที่สืบเนื่องมาจากระบบแอนะล็อก ==
* สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 --> [[ช่อง 3 เอชดี|ช่อง 3 HD]] (หมายเลข 33)
* สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 --> [[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก|TV5 HD1]] (หมายเลข 1)
เส้น 341 ⟶ 336:
 
== ดูเพิ่ม ==
 
* [[โทรทัศน์ในประเทศไทย]]
* [[โทรทัศน์ภาคพื้นดินระบบดิจิทัลในประเทศไทย]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
* [https://nbtc.go.th/Home.aspx เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ กสทช.]