ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันเข้าพรรษา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pphongpan355 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8950501 โดย 124.122.129.210ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
แก้ไขลิงก์เสียในแหล่งอ้างอิงและลบลิงก์รูปที่ถูกลบบนคอมมอนส์
บรรทัด 37:
 
=== ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ ===
การเข้าพรรษาตามพระวินัยแบ่งได้เป็น 2 ประเภท <ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 '''วัสสูปนายิกขันธกะ''' - การจำพรรษา 2 อย่าง. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=4&A=5450&Z=5501&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 11-6-52</ref><ref>ศ.พิเศษ{{Cite web|author=จำนงค์ ทองประเสริฐ, ''[|url=http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1260 |title=ปุริมพรรษา]{{dead link|archive-url=https://web.archive.org/web/20071028232837/http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1260 |archive-date=พฤษภาคม2007-10-28 2560|publisher=ราชบัณฑิตยสถาน |accessdate=2006-02-02}}'', อ้างอิงจากหน้าเว็บเมื่อ 2 กรกฎาคม 2549</ref> คือ
 
# '''ปุริมพรรษา''' (เขียนอีกอย่างว่า '''บุริมพรรษา''') คือ การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปี[[อธิกมาส]] คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับ[[กฐิน]]ซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน [[12 สิงหาคม|12]]
บรรทัด 69:
=== การเตรียมตัวเข้าจำพรรษาของพระสงฆ์ในปัจจุบัน ===
[[ไฟล์:Buddhist monk in Buddhist church.jpg|170px|thumb|เมื่อถึงวันเข้าพรรษา พระสงฆ์ในวัดจะรวมตัวกันอธิษฐานจำพรรษาภายในวิหารหรืออุโบสถของวัด]]
การเข้าจำพรรษาคือการตั้งใจเพื่ออยู่จำ ณ [[อาวาส]]ใดอาวาสหนึ่งหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่งเป็นประจำตลอดพรรษา 3 เดือน<ref>[http://www.dra.go.th/ewtadmin/ewt/dra_buddha/main.php?filename=buddha_7_3 วันเข้าพรรษา - ศาสนาพุทธ]</ref> ดังนั้นก่อนเข้าจำพรรษาพระสงฆ์ในวัดจะเตรียมตัว โดยการซ่อมแซมเสนาสนะปัดกวาดเช็ดถูให้เรียบร้อยก่อนถึงวันเข้าพรรษา<ref>[{{Cite web|url=http://lib.vit.src.ku.ac.th/actonline56/khaopansa56/khaopansa56.asp |title=แรม 1 ค่ำ เดือน 8 วันเข้าพรรษา - นิทรรศการออนไลน์]{{dead link|archive-url=http://archive.vn/7LnTW |archive-date=พฤษภาคม3 August 2013 |publisher=ห้องสมุด วิทยาเขตศรีราชา 2560มหาวืทยาลัยเกษตรศาสตร์}}</ref>
 
เมื่อถึงวันเข้าพรรษา ส่วนใหญ่[[พระสงฆ์]]จะลงประกอบพิธีอธิษฐานจำพรรษาหลัง[[สวดมนต์ทำวัตรเย็น]]เป็นพิธีเฉพาะของพระสงฆ์ ซึ่งส่วนใหญ่จะลงประกอบพิธี ณ [[อุโบสถ]] หรือสถานที่ใดตามแต่จะสมควรภายในอาวาสที่จะจำพรรษา โดยเมื่อทำวัตรเย็นประจำวันเสร็จแล้ว[[เจ้าอาวาส]]จะประกาศเรื่อง '''วัสสูปนายิกา''' คือการกำหนดบอกให้ให้พระสงฆ์ทั้งปวงรู้ถึงข้อกำหนดในการเข้าพรรษา<ref>[http://www.rakjung.com/important-day-no205.html วันเข้าพรรษา ประวัติ และความเป็นมา - รักจัง]</ref> โดยมีสาระสำคัญดังนี้
บรรทัด 97:
ในอดีต การเข้าพรรษามีประโยชน์แก่พระสงฆ์ในด้านการศึกษาพระธรรมวินัย โดยการที่พระสงฆ์จากที่ต่าง ๆ มาอยู่จำพรรษารวมกันในที่ใดที่หนึ่ง พระสงฆ์เหล่านั้นก็จะมีการแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายองค์ความรู้ตามพระธรรมวินัยให้แก่กัน
 
มาในปัจจุบัน การศึกษาพระธรรมวินัยในช่วงเข้าพรรษาในประเทศไทยก็ยังจัดเป็นกิจสำคัญของพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ที่อุปสมบททุกรูป แม้จะอุปสมบทเพียงเพื่อชั่วเข้าพรรษาสามเดือน ก็จะต้องศึกษาพระธรรมวินัยเพิ่มเติม ปัจจุบันพระธรรมวินัยถูกจัดเป็นหลักสูตรของคณะสงฆ์ ในหลักสูตร พระธรรม จะเรียกว่า ธรรมวิภาค พระวินัย เรียกว่า วินัยมุข รวมเรียกว่า "นักธรรม" ชั้นต่าง ๆ โดยจะมีการสอบไล่ความรู้พระปริยัติธรรมในช่วงออกพรรษา เรียกว่า [[การสอบธรรมสนามหลวง]] ในช่วงวันขึ้น 9 - 12 ค่ำ เดือน 11 (จัดสอบนักธรรมชั้นตรีสำหรับพระภิกษุสามเณร) และช่วงวันแรม 2 - 5 ค่ำ เดือน 12 (จัดสอบนักธรรมชั้นโทและ[[นักธรรมเอก|เอก]] สำหรับพระภิกษุสามเณร) <ref>[{{Cite web|url=http://www.gongtham.orgnet/my_datadocs/mydata_book2562/exam49/index_exam49DharmaExamDate2562.htmpdf |title=กำหนดการสอบธรรมสนามหลวง]{{dead link|datearchive-url=พฤษภาคม 2560}}https://web.archive.org/web/20191203143019/http://www.gongtham.net/docs/2562/DharmaExamDate2562.pdf |archive-date=2019-12-03 |publisher=สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง. เรียกข้อมูลเมื่อ 1|accessdate=2020-707-5209}}</ref>
 
ปัจจุบันการศึกษาเฉพาะในชั้นนักธรรมตรีสำหรับพระนวกะ หรือพระบวชใหม่ จะจัดสอบในช่วงปลายฤดูเข้าพรรษา เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ที่จะลาสิกขาบทหลังออกพรรษา จะได้ตั้งใจเรียนพระธรรมวินัยเพื่อสอบไล่ให้ได้นักธรรมในชั้นนี้ด้วย<ref>[http://buachatrsangkapan.com/index.php?ContentID=ContentID-13070409260039971 สังฆภัณฑ์ - การศึกษาพระธรรมวินัยของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษาในปัจจุบัน]</ref>
 
== การถือปฏิบัติประเพณีการบำเพ็ญกุศลเนื่องในเทศกาลเข้าพรรษาในประเทศไทย ==
[[ไฟล์:Ramkhamhaeng-Script1.png|180px|thumb|สำเนาศิลาจารึกหลักที่ ๑ (ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช)]]
 
การถือปฏิบัติประเพณีการบำเพ็ญกุศลเนื่องในเทศกาลเข้าพรรษาในประเทศไทย สันนิษฐานว่าเริ่มมีมาแต่แรกที่รับพระพุทธศาสนาเถรวาทเข้ามาในดินแดนประเทศไทย ซึ่งอาจมีปฏิบัติประเพณีนี้มาตั้งแต่สมัยทวาราวดี แต่มาปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าชาวไทยได้ถือปฏิบัติในการบำเพ็ญกุศลในเทศกาลเข้าพรรษาในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ดังปรากฏความในศิลาจารึกหลักที่ 1 (ด้านที่ 2) ดังนี้
 
{{คำพูด|... คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มันโอยทาน พ่อขุนรามคำแหงเจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทังชาวแม่ชาวเจ้า ท่วยปั่วท่วยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้งสิ้นทังหลายทังผู้ชายผู้ญีง ฝูงท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสน ทรงศีลเมื่อ<u>'''พรรษา'''</u>ทุกคน เมื่อโอกพรรษากรานกฐินเดือนณื่งจี่งแล้ว เมื่อกรานกฐิน มีพนมเบี้ย มีพนมหมาก มีพนมดอกไม้ มีหมอนนั่งหมอนโนน บริพารกฐิน โอยทานแล่ปีแล้ญิบล้าน ไปสูดญัตกฐินเถิงอไรญิกพู้น เมื่อจักเข้ามาเวียง เรียงกันแต่อไรญิกพู้นเท้าหัวลาน ดมบังคมกลองด้วยเสียงพาทย์เสียงพีณ เสียงเลื้อนเสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื้อน เลื้อน เมืองสุโขทัยนี้มีสี่ปากปตูหลวง เที้ยรย่อมคนเสียดกัน เข้ามาดูท่านเผาเทียนท่านเล่นไฟ เมืองสุโขทัยนี้มีดั่งจักแตก ...|คำอ่านศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ด้านที่ ๒<ref>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดทำเนื่องในโอกาส ๗๐๐ ปี ลายสือไทย กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.๒๕๒๗</ref><ref>[http{{Cite web|url=https://scitechdb.rmutsvsac.acor.th/majorSciinscriptions/generalstudyinscribe/sila.docimage_detail/49 คุณค่าและภาษาในศิลา|title=จารึกหลักพ่อขุนรามคำแหง ด้านที่ ๑ - อลิสา เลี้ยงรื่นรมย์|work=ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย |publisher=[[ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร]]{{dead link(องค์การมหาชน) |date=พฤษภาคม17 2560กุมภาพันธ์ 2555}}. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช. เรียกข้อมูลเมื่อ 17-6-52</ref>}}
 
นอกจากนี้ในหนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ยังได้กล่าวถึงการเทศกาลเข้าพรรษาในสมัยสุโขทัยไว้อีกว่า "เมื่อถึงวันขึ้น ๑๔ ค่ำ ทั้งทหารบก และทหารเรือก็จัดขบวนแห่เทียนจำนำพรรษา ทั้งใส่คานหาบไปและลงเรือ ประดิษฐานอยู่ในบุษบกทองคำ ประดับ ธงทิว ตีกลอง เป่าแตรสังข์ แห่ไป ครั้นถึงพระอารามแล้วก็ยกต้นเทียนนั้นเข้าไปถวายในพระอุโบสถ หอพระธรรมและพระวิหาร จุดตามให้สว่างไสวในที่นั้น ๆ ตลอด ๓ เดือน ดังนี้ทุกพระอาราม" ซึ่งตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์นั้นสันนิษฐานว่าแต่งขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์โดยมี ตามความที่[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ได้ทรงอธิบายเกี่ยวกับเค้าโครงของหนังสือนี้ว่าแม้มีเค้าโครงมาจากสมัยสุโขทัย แต่รายละเอียดมีการแต่งเสริมกันขึ้นมาในสมัยอยุธยาหรือรัตนโกสินทร์ตอนต้น<ref>[{{Cite web|url=http://www.duangden.com/EthicalLecture/531-4.html |title=คำบรรยายรายวิชาแนวคิดทางจริยศาสตร์ในสังคมไทย]{{dead link|datework=พฤษภาคม 2560}} (SHES 531 History of Ethical Thoughts in Thai Society). |publisher=ภาควิชามนุษยศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]. เรียกข้อมูลเมื่อ|accessdate=2009-05-04 |archive-url=https://web.archive.org/web/20091008104623/http://www.duangden.com/EthicalLecture/531-4.html |archive-5date=2009-5210-08}}</ref>
 
=== ประเพณีเนื่องด้วยการเข้าพรรษาในประเทศไทย ===
เส้น 189 ⟶ 187:
 
=== พระราชพิธี ===
[[ไฟล์:Royal_Candies_of_King_Bhumibol_Adulyadej.JPG|thumb|150px|left|[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ทรงเจิมเทียนพรรษาที่จะทรงอุทิศพระราชทานไปจุดบูชาพระรัตนตรัยและพุทธเจดีย์สถาน ตามพระอารามหลวงต่าง ๆ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน]]
การพระราชพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันเข้าพรรษานี้มีชื่อเรียกเป็นทางการว่า '''พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล เนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00090539.PDF หมายกำหนดการ ที่ ๑๑/๒๕๔๕ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๔๕], เล่ม ๑๑๙, ตอน พิเศษ ๖๗ ง , ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๕, หน้า ๓๐</ref> ซึ่งเดิมก่อน [[พ.ศ. 2501]] เรียกเพียง '''การพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศล เนื่องในวันเข้าพรรษา'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2499/D/057/2067.PDF หมายกำหนดการ พระราชกุศลเข้าวรรษา ๒๔๙๙], เล่ม ๗๓, ตอน ๕๗, ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๙, หน้า ๒๐๖๗</ref> แต่หลังจากที่ทางคณะสงฆ์มีการกำหนดให้เพิ่มวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาอีกวันหนึ่ง (ก่อนหน้าวันเข้าพรรษา 1 วัน) ในปี พ.ศ. 2501 แล้ว<ref name="อาสาฬสังฆนายก">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2501/D/057/2169.PDF ประกาศสำนักสังฆนายก เรื่อง กำหนดพิธีอาสาฬหบูชา], เล่ม ๗๕, ตอน ๕๗, ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑, หน้า ๒๑๖๙</ref> [[สำนักพระราชวัง]]จึงได้กำหนดเพิ่มการบำเพ็ญพระราชกุศลในวันอาสฬหบูชาเพิ่มเติมขึ้นมาด้วยอีกวันหนึ่ง<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2501/D/058/1.PDF หมายกำหนดการ ที่ ๑๒/๒๕๐๑ พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันอาสาฬหบูชา และเทศการเข้าพรรษา พุทธศักราช ๒๕๐๑], เล่ม ๗๕, ตอน ๕๘ ง ฉบับพิเศษ, ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑, หน้า ๑</ref> รวมเป็นสองวัน
 
เส้น 210 ⟶ 207:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* ปัณณวัฒน์. ''ปฏิทิน 100 ปี พ.ศ. 2468-2568 คัมภีร์พยากรณ์คู่บ้าน.'' กรุงเทพฯ : ไพลิน, 2550. {{ISBN |974-455-535-1}}.
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 221 ⟶ 218:
 
* พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1 '''วัสสูปนายิกขันธกะ'''. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=4&A=5450&Z=5501&pagebreak=0]
* [https://web.archive.org/web/20090106220305/http://www.songpak16.com/aticle/kaopansa.htm วันเข้าพรรษา]{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}}.โดย พระธรรมคุณาภรณ์ (เอื้อน หาสธมโม) วัดสามพระยา กรุงเทพฯ
* [https://web.archive.org/web/20071212213928/http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=248 วันเข้าพรรษา]{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}}. โดย ศ. ดร.กาญจนา นาคสกุล
* [https://web.archive.org/web/20091026025446/http://www.culture.go.th/study.php?&YY=2548&MM=7&DD=4 วันเข้าพรรษา : ช่วงอธิษฐานจิต "ทำดี ละชั่ว"]{{dead. link|date=พฤษภาคมโดย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ 2560}}กระทรวงวัฒนธรรม
 
 
{{วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย}}
{{วันหยุดราชการไทย}}
 
{{เรียงลำดับ|ข้าพรรษา}}
[[หมวดหมู่:วันสำคัญทางศาสนาพุทธ]]