ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิบาดะฮ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jearnapa4507058 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมรุปแบบของอิบาดะห์
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1:
{{อิสลาม}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''''อิบาดะฮ์''''' ({{lang-ar|{{large|عبادة}}}}) เป็นคำศัพท์[[ภาษาอาหรับ]]ที่หมายถึงบริการหรือภาระจำยอม<ref name=OEIW>{{cite encyclopedia|author=Tariq al-Jamil|title=Ibadah|encyclopedia=The Oxford Encyclopedia of the Islamic World|editor=John L. Esposito|publisher=Oxford University Press|location=Oxford|year=2009|url=http://www.oxfordreference.com/view/10.1093/acref/9780195305135.001.0001/acref-9780195305135-e-1162|url-access=subscription }}</ref> ใน[[ศาสนาอิสลาม]] ''อิบาดะฮ์'' มักแปลเป็น "การสักการะ" และ ''อิบาดาต''—รูปพหุพจน์ของ ''อิบาดะฮ์''—อิงถึงนิติศาสตร์อิสลาม (''[[ฟิกฮ์]]'') ที่เกี่ยวกับพิธีทางศาสนาของชาวมุสลิม<ref name="BORW">{{cite web|title=Encyclopaedia of Islam, Second Edition |url=http://referenceworks.brillonline.com/entries/encyclopaedia-of-islam-2/ibadat-SIM_3014|website=Brill Online Reference Works|accessdate=9 April 2017}}</ref><ref>{{cite web|title=The Oxford International Encyclopedia of Legal History|url=http://www.oxfordreference.com/view/10.1093/acref/9780195134056.001.0001/acref-9780195134056-e-857|website=Oxford Reference|publisher=Oxford University Press|accessdate=9 April 2017|date=2009}}</ref>
<ref>เข้าใจภาระกิจของชีวิตเพื่อพิชิตเป้าหมาย
 
==อิบาดะฮ์==
เขียนโดย...ชากีรีน สุมาลี</ref>{{ไม่เป็นสารานุกรม}}
ในภาษาอาหรับ ''อิบาดะฮ์'' เชื่อมกับคำศัพท์ใกล้เคียง เช่น "อุบูดียะฮ์" ("[[ทาส]]") ตัวคำในทางภาษาศาสตร์หมายถึง "การเชื่อฟังด้วยความอ่อนน้อม"<ref>al-Qamoos al-Muhit</ref>
{{รอการตรวจสอบ}}
{{สั้นมาก}}
'''อิบาดะหฺ''' คำทับศัพท์จาก[[ภาษาอาหรับ]] แปลว่า การบูชาสักการะ หมายถึงการบูชาสักการะต่ออัลลอหฺนายผู้เป็นใหญ่ที่สุด ด้วยการปฏิบัติตามคำสั่งใช้และละทิ้งคำสั่งห้าม เช่น [[นมาซ]] และถือ[[ศีลอด]] การไม่ลักขโมยและผิดประเวณี
 
ใน[[ศาสนาอิสลาม]] ''อิบาดะฮ์'' มักแปลเป็น "การสักการะ" และหมายถึงการเชื่อฟัง, อ่อนน้อม และจงรักภักดีต่อ[[พระเป็นเจ้าในศาสนาอิสลาม|อัลลอฮ์]]<ref>{{cite web|title=Al-Qur'an 51:56|url=http://quran.com/51/56}} [http://irebd.com/quran/english/surah-51/verse-56/ Quran Surah Adh-Dhaariyat ( Verse 56 )]</ref><ref name=OEIW/>
อิบาดะฮฺมี 2 รูปแบบใหญ่ ๆ ดังนี้
 
แหล่งที่มาอื่น (เช่น จาก[[ซัยยิด อะบุล อะลา เมาดูดีย์]] นักเขียนสาย[[อิสลามนิยม]]<ref name=":0" /> และคนอื่น)<ref>{{cite book|chapter= 4. The Ritual Practice: IBADAT: AN AMBIGUOUS CONCEPT OF RITUAL IN ISLAM |last1=Muhaimin |first1=A. G. |title=The Islamic Traditions of Cirebon: Ibadat and Adat Among Javanese Muslims |url=http://press-files.anu.edu.au/downloads/press/p25911/html/ch04s02.html|website=press-files.anu.edu.au|accessdate=9 April 2017}}</ref> ให้ขอบเขตของ ''อิบาดะฮ์'' โดยรวมไปถึงการหลีกเลี่ยงคำพูดของตน "จากความสกปรก, การโกหก, การปองร้าย, เหยียดหยาม" และความไม่ซื่อสัตย์, เชื่อมั่นต่อกฎหมาย[[ชะรีอะฮ์]]ใน "ด้านการค้าและเศรษฐกิจ" และใน "ความสัมพันธ์กับพ่อแม่, ญาติ, เพื่อน" กับทุกคน<ref name=":0">{{Cite web|url=http://www.islamreligion.com/articles/644/spirit-of-worship-in-islam-part-1/|title=The Spirit of Worship in Islam (part 1 of 3): Worship and Prayer - The Religion of Islam|last=Abul A'la Maududi |website=Islamreligion.com |language=en|access-date=2017-04-09}}</ref>
1. อิบาดะฮฺที่มีรูปแบบเฉพาะเจาะจง ซึ่งถูกกำหนดโดยอัลลอฮฺและรอซูลของพระองค์ เช่น การละหมาด การถือศีลอด การจ่ายซากาต การทำฮัจญ์
 
==อิบาดาต==
2. อิบาดะฮฺที่ไม่มีรูปแบบที่เฉพาะเจาะจง แต่สามารถทำให้เป็นอิบาดะฮฺได้ นั่นคือ วิถีชีวิตทั่ว ๆ ไป ที่ปรับให้เป็นอิบาดะฮฺ หรือการปรับ อาดัติ (عادة) ให้เป็นอิบาดะฮฺ (عبادة) เช่น การกิน การนอน การเรียน การทำงาน ฯลฯ
''อิบาดาต'' (عبادات) เป็นรูปพหุพจน์ของ ''อิบาดะฮ์'' ซึ่งมีความหมายมากกว่า ''อิบาดะฮ์'' อย่างเดียว<ref name=wehr>{{Cite web|url=http://ejtaal.net/aa/#hw4=699,ll=2022,ls=5,la=2773,sg=683,ha=461,br=618,pr=102,aan=391,mgf=579,vi=254,kz=1551,mr=409,mn=886,uqw=1040,umr=690,ums=573,umj=512,ulq=1175,uqa=279,uqq=228,bdw=h576,amr=h414,asb=h629,auh=h1008,dhq=h355,mht=h575,msb=h154,tla=h70,amj=h504,ens=h1,mis=h1|title=Mawrid Reader. Hans Wehr, A Dictionary of Modern Written Arabic, 4th ed. (hw4)|last=Wehr|first=Hans|website=ejtaal.net|access-date=2017-04-09}}</ref> มันอิงถึงนิติศาสตร์อิสลาม (''[[ฟิกฮ์]]'') ใน "กฎการสักการะในศาสนาอิสลาม"<ref>{{cite web|last1=Bowker|first1=John|title=The Concise Oxford Dictionary of World Religions|url=http://www.oxfordreference.com/view/10.1093/acref/9780192800947.001.0001/acref-9780192800947-e-3317 |website=oxfordreference.com|publisher=Oxford University Press|accessdate=9 April 2017}}</ref> หรือ "พิธีกรรมสักการะทางศาสนาที่จำเป็นต่อมุสลิมทุกคนที่มีอายุและร่ายกายถึงเกณฑ์กำหนด"<ref name=OIS>{{Cite web|url=http://www.oxfordislamicstudies.com/article/opr/t125/e911|title=Ibadah - Oxford Islamic Studies Online|website=www.oxfordislamicstudies.com|language=en|access-date=2017-04-08}}</ref>
 
อิบาดาตถูกรวมใน "[[หลักการอิสลาม]]" ทั้ง 5 ข้อ:
<br />
* การประกาศความศรัทธา ([[ชะฮาดะฮ์]]) แปลได้เป็น "''ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจาก[[อัลลอฮ์]] มุฮัมมัดเป็นศาสนทูตของ[[อัลลอฮ์]]"''<ref name="OIS" />
* [[ละหมาด]] ทำเป็นเวลา 5 ครั้งต่อวันในเวลาที่กำหนด โดยมีกำหนดการชำระร่างกาย (เอาน้ำละหมาด), การเคลื่อนไหว (ยืนตรง, โค้ง, ก้มกราบ, นั่ง) และการกล่าวโองการจากอัลกุรอาน<ref name="OIS" />
* [[ซะกาต]] -- ตามปรกติคือ 2.5% ของเงินเก็บและทรัพย์สินทั้งหมดของมุสลิม<ref name="OIS" />
* [[ศีลอด|ถือศีลอด]] -- การเลี่ยงจากการกินและดื่มในช่วงกลางวัน—โดยเฉพาะในช่วงเดือน[[เราะมะฎอน]]<ref name="OIS" />
* แสวงบุญที่[[มักกะฮ์]] ([[ฮัจญ์]])<ref name="OIS" />—[[การจาริกแสวงบุญ]]ใน[[ศาสนาอิสลาม]]ที่เมืองศักดิ์สิทธิ์ของมุสลิมทุกปี และเป็น[[ฟัรฎ์|ข้อบังคับ]]สำหรับมุสลิมที่ต้องไปอย่างน้อยหนึ่งครั้งในช่วงชีวิตของตน โดย[[มุสลิม]]ที่มีสุขภาพและรายได้เพียงพอต่อการเดินทางไป
รายงานจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดสาขาอิสลามศึกษาไว้ว่า "เพราะสิ่งเหล่านี้คือสิ่งสำคัญในสังคมมุสลิม อิบาดาตได้ก่อรูปร่างแรกของ[[ฟิกฮ์|หลักนิติศาสตร์อิสลาม]]และรายงานส่วนใหญ่ในธรรมเนียมของศาสดา ([[ฮะดีษ]])"<ref name="OIS" /> อิบาดาตเหล่านี้เป็นสิ่งสำคัญในศาสนาอิสลาม (รายงานจากฟะลีล ญะมาลุดีน นักเขียน) เพราะถ้าไม่มีกฎหมายทางศาสนานี้ "มุสลิมอาจสร้างพิธีกรรมและการขอพรของตนเอง และศาสนาอิสลามก็จะสั่นคลอนแล้วหายไป"<ref>{{Cite book|url=https://books.google.com/books/about/Islamic_Finance_For_Dummies.html?id=T7ImTjBd1gQC|title=Islamic Finance For Dummies|last=Jamaldeen|first=Faleel|publisher=John Wiley & Sons|year=2012|isbn=|location=|pages=41}}</ref>
 
==ดูเพิ่ม==
*[[สำนักในเทววิทยาอิสลาม]]
 
{{ต้องการ==อ้างอิง}}==
{{Reflist}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[https://web.archive.org/web/20180119150136/http://www.islam1.org/khutub/Ibadah_in_Islam.htm Ibadah in Islam]
*[http://sunnahonline.com/library/purification-of-the-soul/624-meaning-of-worship-the The Meaning of Worship in Islam]
*[https://ibadah.net Ibadah]
 
[[หมวดหมู่:คำศัพท์และประโยคภาษาอาหรับในชะรีอะฮ์]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ในศาสนาอิสลาม]]
[[หมวดหมู่:การสักการะในศาสนาอิสลาม]]
[[หมวดหมู่:นิติศาสตร์อิสลาม]]
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาอิสลาม]]