ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สี่แผ่นดิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 115:
* '''คุณหญิงเอื้อม''' ภรรยาของพระยาพิพิธฯ ย้ายกลับไปอยู่บ้านที่อัมพวาก่อนแม่พลอยจะเกิด
 
== แก่นเรื่องและสัญลักษณ์ ==
== คำวิจารณ์ ==
ประภาพรและชมพูนุช (2563) ศึกษาพบว่า ''สี่แผ่นดิน'' ถ่ายทอด[[วาทกรรม]] 5 ด้าน เรียงตามลำดับจากพบมากไปยังพบน้อย คือ 1. คนไทยที่ดีต้องเคารพและเชื่อฟังผู้ใหญ่ เป็นหน้าทีและคำสั่งผู้ใหญ่ถือเป็นเด็ดขาด 2. พระมหากษัตริย์คือเจ้าชีวิตต้องเทิดทูน 3. ชายเป็นใหญ่ 4. สังคมไทยมีลำดับชั้น ไม่ควรตีตนเสมอผู้มีฐานะสูงกว่า 5. [[ความกตัญญู]]เป็นเครื่องหมายของคนดี<ref name="วาทกรรม">{{cite journal |last1= ลิ้มจิตสมบูรณ์ |first1= ประภาพร |last2= ทรงถาวรทวี |first2= ชมพูนุช |date= |title= การวิเคราะห์วาทกรรมความเป็นไทยในวรรณกรรมสี่แผ่นดินโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช |url= |access-date= 2020-07-08 |journal= มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ |volume= 42 |issue= 1 |pages= |doi= |url-status= |via= |quote=}}</ref>{{rp|23–36}} พบว่าหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ใช้วิธีถ่ายทอดวาทกรรมโดยกำหนดตัวละครออกเป็นสองกลุ่ม โดยให้ผู้ใหญ่และเจ้านายมีความสุขุมรอบคอบและเป็นผู้ส่งต่อวาทกรรม ส่วนตัวละครที่เป็นเด็กจะมีสองกลุ่ม คือ มีส่วนที่ขัดแย้งกับวาทกรรมและอีกฝั่งหนึ่งเป็นผู้ส่งต่อวาทกรรมให้แก่ตัวละครกลุ่มแรก<ref name="วาทกรรม"/>{{rp|38–9}} นักวิจารณ์{{ใครกล่าว}}กล่าวว่า สี่แผ่นดิน สะท้อนประวัติศาสตร์ยุคใหม่ของไทยได้ดียิ่ง<ref>{{cite web|url=http://www.manager.co.th/business/ViewNews.aspx?NewsID=9550000019872|work=ผู้จัดการออนไลน์|date=2012-02-13|accessdate=2017-11-16|first= ยุรชัฏ |last=ชาติสุทธิชัย|title=ละครสี่แผ่นดิน จากมุมมองของคุณบอย
}}</ref>{{ลิงก์เสีย}} [[สุลักษณ์ ศิวรักษ์]] นักคิดอนุรักษนิยมที่มีชื่อเสียง วิจารณ์''สี่แผ่นดิน'' เมื่อปี 2552 ว่า "เป็นนวนิยายที่ใช้ล้างสมองให้คนเห็นว่าประชาธิปไตยเป็นของเลว ราชาธิปไตยเป็นของวิเศษ ชาติวุฒิสำคัญยิ่งกว่าคุณวุฒิของสามัญชนคนธรรมดา"<ref>[https://prachatai.com/journal/2009/01/19633 "ส.ศิวรักษ์" ค้านเสนอ "ยูเนสโก" ให้ "คึกฤทธิ์" เป็นบุคคลสำคัญของโลก]</ref>
 
=== สถาบันพระมหากษัตริย์ ===
{{โครงส่วน}}
[[นิธิ เอียวศรีวงศ์]]เขียนว่า หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ไม่ได้ต้องการจำลองความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันพระมหากษัตริย์กับประชาชนตามความเป็นจริง แต่มุ่งสร้างอุดมคติเพื่อให้เหมาะกับกาลสมัยที่พระมหากษัตริย์เป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญหลัง[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]] และการเลือกตัวเอกเป็นชาววังก็เพื่อให้เห็นพระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตริย์ทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยไม่มีเรื่องการเมืองการปกครองเข้ามาเกี่ยวข้อง<ref>[https://www.matichonweekly.com/column/article_254572 นิธิ เอียวศรีวงศ์ | สถาบันกษัตริย์ใน “สี่แผ่นดิน”]</ref>
 
=== ตัวละคร ===
 
ขณะที่ตัวของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เคยให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการนิตยสาร''ถนนหนังสือ'' ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2528 ว่า ""แม่พลอยเป็นคนที่ไม่มีสิทธิของผู้หญิงเลย ไม่เคยเรียก ไม่เคยร้อง แล้วแม่พลอยนี่เป็นคนที่เชยที่สุด คุณจะว่านางเอกก็นางเอก แต่เป็นคนเชยที่สุด แม่พลอยถ้าแกอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ แกก็ลูกเสือชาวบ้าน แกจะไปรำละครบ้าๆ บอๆ ถึงขนาดนั้น" และ "ที่นี่คนอ่านคนไทย ปลื้มอกปลื้มใจ เห็นแม่พลอยเป็นคนประเสริฐเลิศลอย ก็เพราะคนไทยก็เป็นคนแบบนั้นอ่อนน้อมถ่อมตน คนอ่านส่วนมากอยากเป็นแม่พลอย เป็นคนไทยมีใจรักชาติและสะท้อนให้เห็นแง่คิดในสังคมไทย นี่คือสาเหตุที่ สี่แผ่นดินถึงได้มีชื่อเสียง"<ref>หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการนิตยสารถนนหนังสือ ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2528</ref>
 
นอกจากนี้ยังมีการวิจารณ์บุคลิกของตัวละคร ว่าตาอ๊อดนั้นเหมือน ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ผู้ประพันธ์ ส่วนตาอั้น ถอดแบบมาจากจากพี่ชายของผู้ประพันธ์คือ ม.ร.ว. [[เสนีย์ ปราโมช]] แม่พลอยตามเนื้อเรื่องมาจากก๊กฟากคะโน้น หมายถึง[[ตระกูลบุนนาค]] หนึ่งในต้นตระกูลของผู้ประพันธ์ด้วย จึงนับได้ว่าแม่พลอย เป็นญาติข้างหนึ่งของผู้ประพันธ์ ซึ่งในบทโต้ตอบในหนังสือพิมพ์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ยอมรับข้อเท็จจริงดังกล่าว ถึงขนาดตอนเผยแพร่ครั้งแรกโดยการตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ถึงตอนที่แม่พลอยแพ้ท้อง และปรารภกับคุณเปรมอยากรับประทานมะม่วงดิบ [[เจ้าจอมอาบ ในรัชกาลที่ 5]] ได้ส่งมะม่วงดิบมายังโรงพิมพ์สยามรัฐจริง ๆ ด้วยเสมือนถือว่าตัวก็เป็นญาติคนหนึ่งของแม่พลอย เนื่องจากเป็นผู้ที่มีเชื้อสายตระกูลบุนนาค<ref>หน้า 3, ''บางหลวง''. "ชักธงรบ" โดย กิเลน ประลองเชิง. '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21849: วันพฤหัสบดีที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 แรม 13 ค่ำ เดือน 12 ปีระกา</ref>
 
{{โครงส่วน}}
 
== บทวิจารณ์และวรรณคดีวิพากษ์ ==
ประภาพรและชมพูนุช (2563) ศึกษาพบว่า ''สี่แผ่นดิน'' ถ่ายทอด[[วาทกรรม]] 5 ด้าน เรียงตามลำดับจากพบมากไปยังพบน้อย คือ 1. คนไทยที่ดีต้องเคารพและเชื่อฟังผู้ใหญ่ เป็นหน้าทีและคำสั่งผู้ใหญ่ถือเป็นเด็ดขาด 2. พระมหากษัตริย์คือเจ้าชีวิตต้องเทิดทูน 3. ชายเป็นใหญ่ 4. สังคมไทยมีลำดับชั้น ไม่ควรตีตนเสมอผู้มีฐานะสูงกว่า 5. [[ความกตัญญู]]เป็นเครื่องหมายของคนดี<ref name="วาทกรรม">{{cite journal |last1= ลิ้มจิตสมบูรณ์ |first1= ประภาพร |last2= ทรงถาวรทวี |first2= ชมพูนุช |date= |title= การวิเคราะห์วาทกรรมความเป็นไทยในวรรณกรรมสี่แผ่นดินโดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช |url= |access-date= 2020-07-08 |journal= มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ |volume= 42 |issue= 1 |pages= |doi= |url-status= |via= |quote=}}</ref>{{rp|23–36}} พบว่าหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ใช้วิธีถ่ายทอดวาทกรรมโดยกำหนดตัวละครออกเป็นสองกลุ่ม โดยให้ผู้ใหญ่และเจ้านายมีความสุขุมรอบคอบและเป็นผู้ส่งต่อวาทกรรม ส่วนตัวละครที่เป็นเด็กจะมีสองกลุ่ม คือ มีส่วนที่ขัดแย้งกับวาทกรรมและอีกฝั่งหนึ่งเป็นผู้ส่งต่อวาทกรรมให้แก่ตัวละครกลุ่มแรก<ref name="วาทกรรม"/>{{rp|38–9}} นักวิจารณ์{{ใครกล่าว}}กล่าวว่า สี่แผ่นดิน สะท้อนประวัติศาสตร์ยุคใหม่ของไทยได้ดียิ่ง<ref>{{cite web|url=http://www.manager.co.th/business/ViewNews.aspx?NewsID=9550000019872|work=ผู้จัดการออนไลน์|date=2012-02-13|accessdate=2017-11-16|first= ยุรชัฏ |last=ชาติสุทธิชัย|title=ละครสี่แผ่นดิน จากมุมมองของคุณบอย
}}</ref>{{ลิงก์เสีย}} [[สุลักษณ์ ศิวรักษ์]] นักคิดอนุรักษนิยมที่มีชื่อเสียง วิจารณ์''สี่แผ่นดิน'' เมื่อปี 2552 ว่า "เป็นนวนิยายที่ใช้ล้างสมองให้คนเห็นว่าประชาธิปไตยเป็นของเลว ราชาธิปไตยเป็นของวิเศษ ชาติวุฒิสำคัญยิ่งกว่าคุณวุฒิของสามัญชนคนธรรมดา"<ref>[https://prachatai.com/journal/2009/01/19633 "ส.ศิวรักษ์" ค้านเสนอ "ยูเนสโก" ให้ "คึกฤทธิ์" เป็นบุคคลสำคัญของโลก]</ref>
 
{{โครงส่วน}}