ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคชิคุนกุนย่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
| deaths =
}}
'''โรคชิคุนกุนย่า''' ({{lang-en|Chikungunya}}) เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจาก'''ไวรัสชิคุนกุนย่า'''<ref name=WHO2016>{{cite web|title=Chikungunya Fact sheet|url=http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs327/en/|website=[[WHO]]|access-date=26 September 2016|date=April 2016|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20160927102447/http://www.who.int/mediacentre/factsheets/fs327/en/|archive-date=27 September 2016|df=dmy-all}}</ref> ({{lang-en|Chikungunya virus, CHIKV}}) ผู้ป่วยจะมีอาการ[[ไข้]]และ[[ปวดข้อ]]<ref name=CDC2016Sym>{{cite web|title=Chikungunya Virus Symptoms, Diagnosis, & Treatment|url=https://www.cdc.gov/chikungunya/symptoms/index.html|website=[[Centers for Disease Control and Prevention|CDC]]|access-date=26 September 2016|date=6 April 2016|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20160921083120/http://www.cdc.gov/chikungunya/symptoms/index.html|archive-date=21 September 2016|df=dmy-all}}</ref> โดยมักเริ่มมีอาการ 2-12 วันหลังได้รับเชื้อ<ref name=WHO2016/> อาการอื่นที่อาจพบร่วมด้วยได้แก่ [[ปวดหัว]] [[ปวดกล้ามเนื้อ]] [[ข้ออักเสบ|ข้อบวม]] และมี[[ผื่น]] เป็นต้น<ref name=CDC2016Sym/> อาการเหล่านี้มักดีขึ้นเองภายในหนึ่งสัปดาห์ ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการปวดข้อได้อีกหลายเดือนหรือหลายปี<ref name=CDC2016Sym/><ref>{{cite journal | vauthors = van Aalst M, Nelen CM, Goorhuis A, Stijnis C, Grobusch MP | title = Long-term sequelae of chikungunya virus disease: A systematic review | journal = Travel Medicine and Infectious Disease | volume = 15 | pages = 8–22 | date = January 2017 | pmid = 28163198 | doi = 10.1016/j.tmaid.2017.01.004 }}</ref> อัตราเสียชีวิตอยู่ที่ประมาณ 1 ต่อ 1,000<ref name=Cag2013>{{cite journal | vauthors = Caglioti C, Lalle E, Castilletti C, Carletti F, Capobianchi MR, Bordi L | title = Chikungunya virus infection: an overview | journal = The New Microbiologica | volume = 36 | issue = 3 | pages = 211–27 | date = July 2013 | pmid = 23912863 }}</ref> โดยผู้ที่มีความเสี่ยงจะเกิดโรครุนแรงได้แก่ผู้ป่วยอายุน้อย อายุมาก และผู้ที่มีโรคประจำตัวอื่นๆ<ref name=CDC2016Sym/>
 
โรคนี้มียุงเป็นพาหะที่สำคัญ 2 ชนิด ได้แก่ [[ยุงลายบ้าน]] (''Aedes aegypti'') และ[[Aedes albopictus|ยุงลายสวน]] (''Aedes albopictus'')<ref name=WHO2016/> ซึ่งมักออกดูดเลือดในเวลากลางวัน<ref>{{cite web|title=Prevention|url=https://www.cdc.gov/chikungunya/prevention/index.html|website=CDC|access-date=26 September 2016|date=26 February 2016|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20160915205122/http://www.cdc.gov/chikungunya/prevention/index.html|archive-date=15 September 2016|df=dmy-all}}</ref> สัตว์ที่เป็น[[แหล่งรังโรค]]ตามธรรมชาติของเชื้อนี้มีหลายชนิดรวมไปถึงนกและหนูด้วย<ref name=WHO2016/> การวินิจฉัยทำได้โดยการตรวจเลือดหาสารพันธุกรรมหรือแอนติบอดีต่อไวรัส<ref name=WHO2016/> อาการของโรคนี้คล้ายกันกับ[[โรคไข้เลือดออกเดงกีงกี]]และ[[ไข้ซิกา]]<ref name=WHO2016/> ปัจจุบันเชื่อกันว่าผู้ที่เคยเป็นโรคนี้แล้วจะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ<ref name=CDC2016Sym/>
 
วิธีป้องกันโรคที่มีประสิทธิภาพที่สุดคือการควบคุมยุงลายและการป้องกันไม่ให้ยุงกัด<ref name=Cag2013/> อาจทำได้โดยกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย (ได้แก่ บริเวณที่มีน้ำขัง) ใช้ยาฆ่าแมลง และใช้มุ้ง<ref name=WHO2016/> ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนและยารักษาจำเพาะ<ref name=WHO2016/> การรักษาทำโดยการรักษาตามอาการ ได้แก่ ให้พักผ่อน ให้สารน้ำ และยาแก้ปวดลดไข้<ref name=WHO2016/><ref name=CDC2016Sym/>
 
โรคนี้ส่วนใหญ่พบในแอฟริกาและเอเชีย แต่ตั้งแต่ ค.ศ. 2000 เป็นต้นมาก็พบระบาดปะทุเป็นครั้งๆ ในยุโรปและอเมริกาอยู่บ้าง<ref name=WHO2016/> ใน ค.ศ. 2014 ทั่วโลกมีผู้ป่วยต้องสงสัยว่าเป็นโรคนี้มากกว่า 1 ล้านคน<ref name=WHO2016/> ในสหรัฐเคยมีโรคนี้ระบาดในฟลอริดาและสหรัฐแผ่นดินใหญ่เมื่อ ค.ศ. 2014 แต่หลังจาก ค.ศ. 2016 เป็นต้นมาก็ไม่พบระบาดแล้ว<ref name=NEJM2014>{{cite journal | vauthors = Staples JE, Fischer M | title = Chikungunya virus in the Americas--what a vectorborne pathogen can do | journal = The New England Journal of Medicine | volume = 371 | issue = 10 | pages = 887–9 | date = September 2014 | pmid = 25184860 | pmc = 4624217 | doi = 10.1056/NEJMp1407698 }}</ref><ref>{{cite web|title=2016 provisional data for the United States|url=https://www.cdc.gov/chikungunya/geo/united-states-2016.html|website=CDC|access-date=26 September 2016|date=20 September 2016|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20160918145231/http://www.cdc.gov/chikungunya/geo/united-states-2016.html|archive-date=18 September 2016|df=dmy-all}}</ref> ต้นกำเนิดของไวรัสชิคุนกุนยามาจาก[[ทวีปแอฟริกา]] โดยพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2495 บริเวณตอนใต้ของ[[ประเทศแทนซาเนีย]]<ref name=WHO2016/> ตั้งชื่อตาม[[Makonde language|ภาษามากอนดี]] ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นของแอฟริกา แปลว่าทำตัวงอหรือโค้ง ตามอาการของผู้ป่วยที่อาจปวดข้อมากจนตัวงอ<ref name=WHO2016/> ในประเทศไทยโรคชิคุนกุนยาถูกพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2501 โดยนายแพทย์ Prof.W McD Hamnon ได้ทำการแยกเชื้อจากผู้ป่วยในโรงพยาบาลเด็ก กรุงเทพฯ และมีการระบาดขึ้นอีกในปี พ.ศ. 2519 ที่ จ.ปราจีนบุรี, ปี พ.ศ. 2531 ที่ จ.สุรินทร์, ปี พ.ศ. 2534 ที่ จ.ขอนแก่น , ปี พ.ศ. 2536 ที่ จ.เลย และพะเยา, ปี พ.ศ. 2538 ที่ จ.นครศรีธรรมราช และหนองคาย<ref>[https://politic.myfirstinfo.com/viewnews.asp?newsid=119314 ข้อควรรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคชิคุนกุนยา (Chikungunya) จากเว็บไซต์มายเฟิร์สอินโฟดอตคอม]</ref>