ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขจุดที่อ้างอิงเสีย
บรรทัด 22:
| medication =
| prognosis = โดยทั่วไปเลว<ref name=WCR2014_5.6/>
| frequency = 1–2 คนต่อ 100,000 คนต่อปี (โลกตะวันตก)<ref name=Brid2016>{{cite journal |last1=Bridgewater |first1=JA |last2=Goodman |first2=KA |last3=Kalyan |first3=A |last4=Mulcahy |first4=MF |title=Biliary Tract Cancer: Epidemiology, Radiotherapy, and Molecular Profiling. |journal=American Society of Clinical Oncology Educational Book. American Society of Clinical Oncology. Annual Meeting |date=2016 |volume=35 |issue=36 |pages=e194–203 |doi=10.1200/EDBK_160831 |pmid=27249723}}</ref>
| deaths =
}}
บรรทัด 51:
== อาการและอาการแสดง ==
[[ไฟล์:Jaundice eye.jpg|thumb|upright=1.2|อาการตัวเหลืองตาเหลือง ([[ดีซ่าน]])]]
สิ่งตรวจพบที่พบบ่อยที่สุดของมะเร็งท่อน้ำดีคือการมีผล[[การตรวจการทำงานของตับ]]ผิดปกติ [[ดีซ่าน]] (เกิดขึ้นเมื่อท่อน้ำดีถูกอุดตันโดยเนื้องอก) ปวดท้อง (30–50%) คันตามตัว (66%) น้ำหนักลด (30–50%) ไข้ (สูงสุด 20%) หรือสีอุจจาระหรือปัสสาวะเปลี่ยน<ref>{{cite journal | vauthors = Nagorney DM, Donohue JH, Farnell MB, Schleck CD, Ilstrup DM | author-link5 = Duane Ilstrup | title = Outcomes after curative resections of cholangiocarcinoma | journal = Archives of Surgery | volume = 128 | issue = 8 | pages = 871–7; discussion 877–9 | date = August 1993 | pmid = 8393652 | doi = 10.1001/archsurg.1993.01420200045008 }}</ref><ref>[http://www.surgery.usc.edu/divisions/tumor/pancreasdiseases/web%20pages/BILIARY%20SYSTEM/cholangiocarcinoma.html Bile duct cancer: cause and treatment<!-- Bot generated title -->]</ref> อาการส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเนื้องอก ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีในท่อน้ำดีนอกตับมีโอกาสเกิดดีซ่านมากกว่า และผู้ป่วยที่เนื้องอกอยู่ในท่อน้ำดีในตับมักมีอาการปวดโดยไม่มีดีซ่านมากกว่า<ref name="nakeeb">{{cite journal | vauthors = Nakeeb A, Pitt HA, Sohn TA, Coleman J, Abrams RA, Piantadosi S, Hruban RH, Lillemoe KD, Yeo CJ, Cameron JL | title = Cholangiocarcinoma. A spectrum of intrahepatic, perihilar, and distal tumors | journal = Annals of Surgery | volume = 224 | issue = 4 | pages = 463–73; discussion 473–5 | date = October 1996 | pmid = 8857851 | pmc = 1235406 | doi = 10.1097/00000658-199610000-00005 }}</ref> ในประเทศไทย พบว่าผู้ป่วยบางส่วนมาพบแพทย์ด้วยปัญหาก้อนในตับ (14%) คลำถุงน้ำดีได้ (6.7%) [[ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน]]แบบไม่มีนิ่วในถุงน้ำดี (7%) มีไข้ไม่ทราบสาเหตุ และพบโดยบังเอิญในขณะที่ผ่าตัดช่องท้องด้วยสาเหตุอื่น<ref>ชมรมศัลยแพทย์มะเร็ง (ประเทศไทย), ชมรมศัลยแพทย์ตับ ตับอ่อน และทางเดินน้ำดี. ''แนวทางการรักษาและตรวจติดตามมะเร็งท่อน้ำดี.'' [http://www.nci.go.th/CPG_Carcinoma/Download/3.pdf]</ref> อาการค่อนข้างจะขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเนื้องอก โดยผู้ป่วยที่มีเนื้องอกอยู่นอกตับมักจะมีอาการดีซ่าน ส่วนผู้ป่วยที่มีเนื้องอกอยู่ในตับมักมีอาการปวดโดยไม่มีดีซ่าน<ref name="nakeeb">{{cite journal |author=Nakeeb A, Pitt H, Sohn T, Coleman J, Abrams R, Piantadosi S, Hruban R, Lillemoe K, Yeo C, Cameron J |title=Cholangiocarcinoma. A spectrum of intrahepatic, perihilar, and distal tumors |journal=Ann Surg |volume=224 |issue=4 |pages=463–73; discussion 473–5 |year=1996 |pmid=8857851 |doi=10.1097/00000658-199610000-00005}}</ref>
 
ผลการตรวจการทำงานของตับในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีมักพบว่ามีลักษณะของการอุดตันท่อน้ำดีโดยมีระดับ[[บิลิรูบิน]]หรือเอนไซม์ตับอย่าง[[อัลคาไลน์ฟอสฟาเทส]]และ[[แกมมา-กลูตามิลทรานสเฟอเรส]]สูงขึ้น โดยมีระดับเอนไซม์ตับ[[ทรานซามิเนส]] (Transaminase) ค่อนข้างปกติเมื่อเทียบกัน ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเหล่านี้เป็นการแสดงว่าการอุดตันของน้ำท่อน้ำดีจะเป็นสาเหตุของดีซ่านมากกว่าจะเป็นจากการอักเสบหรือการติดเชื้อของตับ<ref name="feldman2">{{cite book|editor1=Mark Feldman|editor2=Lawrence S. Friedman|editor3=Lawrence J. Brandt|title=Sleisenger and Fordtran's Gastrointestinal and Liver Disease|edition=8th|date=21 July 2006|publisher=Saunders|isbn=978-1-4160-0245-1|pages=[https://archive.org/details/sleisengerfordtr0000unse_j1o5/page/1493 1493–6]|url-access=registration|url=https://archive.org/details/sleisengerfordtr0000unse_j1o5/page/1493}}</ref>
บรรทัด 110:
=== การตรวจภาพของแขนงทางเดินน้ำดี ===
[[ไฟล์:ERCP cholangioca.jpg|thumb|225px|right|ภาพจาก ERCP ของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี แสดงให้เห็นการตีบแคบของท่อน้ำดีร่วมและการขยายของส่วนต้นของท่อน้ำดี]]
แม้การถ่ายภาพรังสีของช่องท้องจะมีประโยชน์ในการช่วยการวินิจฉัยมะเร็งท่อน้ำดี แต่บ่อยครั้งการดูภาพของท่อน้ำดีโดยตรงก็มีความจำเป็น การสร้างภาพท่อน้ำดีและตับอ่อนด้วยการใช้กล้องส่องย้อน ([[endoscopic retrograde cholangiopancreatography]], ERCP) ซึ่งเป็น[[การตรวจโดยการใช้กล้องส่องทางเดินอาหาร]]ทำโดย[[วิทยาทางเดินอาหาร|แพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบทางเดินอาหาร]]หรือศัลยแพทย์ที่ได้รับการฝึกฝนพิเศษ เป็นการตรวจที่ใช้กันทั่วไปเพื่อจุดประสงค์นี้ แม้ ERCP จะเป็นการตรวจที่ค่อนข้างรุกล้ำผู้ป่วยและมีความเสี่ยงอยู่ในระดับหนึ่ง แต่ผลดีที่มีคือทำให้สามารถ[[การตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา|ตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา]]ได้ สามารถวาง[[ท่อคงรูป]] (stent) ไว้เพื่อใช้ในวิธีการอื่นๆ เพื่อลดการอุดตันทางเดินน้ำดีได้<ref name="feldman2"/> นอกจากนี้ยังสามารถทำการตรวจอัลตราซาวนด์ผ่านการส่องกล้อง ([[endoscopic ultrasound]]) ไปพร้อมกันด้วยได้เพื่อเพิ่มความแม่นยำของการตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยาและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการแพร่กระจายมายังต่อมน้ำเหลืองและการประเมินว่าจะสามารถรักษาด้วยการผ่าตัดได้หรือไม่ด้วย<ref>{{cite journal |author=Sugiyama M, Hagi H, Atomi Y, Saito M |title=Diagnosis of portal venous invasion by pancreatobiliary carcinoma: value of endoscopic ultrasonography |journal=Abdom Imaging |volume=22 |issue=4 |pages=434–8 |year= 1997|pmid=9157867 |doi=10.1007/s002619900227}}</ref> นอกจากการใช้ ERCP แล้วยังมีการใช้การสร้างภาพท่อน้ำดีด้วยการเจาะผ่านผิวหนังและตับ ([[percutaneous transhepatic cholangiography]], PTC) ได้ การสร้างภาพทางเดินน้ำดีและตับอ่อนด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก ([[magnetic resonance cholangiopancreatography]], MRCP) ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ไม่ทำให้การรุกล้ำผู้ป่วยซึ่งใช้แทน ERCP ได้<ref>{{cite journal |author=Schwartz L, Coakley F, Sun Y, Blumgart L, Fong Y, Panicek D |title=Neoplastic pancreaticobiliary duct obstruction: evaluation with breath-hold MR cholangiopancreatography |journal=AJR Am J Roentgenol |volume=170 |issue=6 |pages=1491–5 |year=1998 |pmid=9609160}}</ref><ref>{{cite journal |author=Zidi S, Prat F, Le Guen O, Rondeau Y, Pelletier G |title=Performance characteristics of magnetic resonance cholangiography in the staging of malignant hilar strictures |journal=Gut |volume=46 |issue=1 |pages=103–6 |year=2000 |pmid=10601064 |doi=10.1136/gut.46.1.103}}</ref><ref>{{cite journal |author=Lee M, Park K, Shin Y, Yoon H, Sung K, Kim M, Lee S, Kang E |title=Preoperative evaluation of hilar cholangiocarcinoma with contrast-enhanced three-dimensional fast imaging with steady-state precession magnetic resonance angiography: comparison with intraarterial digital subtraction angiography |journal=World J Surg |volume=27 |issue=3 |pages=278–83 |year=2003 |pmid=12607051 |doi=10.1007/s00268-002-6701-1}}</ref> ผู้เชี่ยวชาญบางท่านเสนอว่าควรใช้ MRCP แทน ERCP ในการวินิจฉัยมะเร็งท่อน้ำดี เนื่องจากสามารถแสดงให้เห็นขอบเขตของเนื้องอกได้แม่นยำกว่าและลดความเสี่ยงที่เกิดจากการใช้ ERCP ด้วย<ref>{{cite journal |author=Yeh T, Jan Y, Tseng J, Chiu C, Chen T, Hwang T, Chen M |title=Malignant perihilar biliary obstruction: magnetic resonance cholangiopancreatographic findings |journal=Am J Gastroenterol |volume=95 |issue=2 |pages=432–40 |year=2000 |pmid=10685746 |doi=10.1111/j.1572-0241.2000.01763.x}}</ref><ref>{{cite journal |author=Freeman M, Sielaff T |title=A modern approach to malignant hilar biliary obstruction |journal=Rev Gastroenterol Disord |volume=3 |issue=4 |pages=187–201 |year=2003 |pmid=14668691}}</ref><ref>{{cite journal |author=Szklaruk J, Tamm E, Charnsangavej C |title=Preoperative imaging of biliary tract cancers |journal=Surg Oncol Clin N Am |volume=11 |issue=4 |pages=865–76 |year=2002 |pmid=12607576 |doi=10.1016/S1055-3207 (02) 00032-7}}</ref>
 
=== การผ่าตัด ===
บรรทัด 119:
 
=== การแบ่งระยะ ===
แม้จะมีระบบการแบ่งระยะของมะเร็งท่อน้ำดีอยู่ไม่ต่ำกว่า 3 แบบ ก็ตาม (Bismuth, Blumgart, [[American Joint Committee on Cancer]]) แต่ไม่มีระบบใดที่แสดงให้เห็นว่ามีประโยชน์ช่วยทำนายอัตราการรอดชีวิตได้<ref>{{cite journal |author=Zervos E, Osborne D, Goldin S, Villadolid D, Thometz D, Durkin A, Carey L, Rosemurgy A |title=Stage does not predict survival after resection of hilar cholangiocarcinomas promoting an aggressive operative approach |journal=Am J Surg |volume=190 |issue=5 |pages=810–5 |year=2005 |pmid=16226963 |doi=10.1016/j.amjsurg.2005.07.025}}</ref> ส่วนที่สำคัญที่สุดของการกำหนดระยะคือเพื่อให้ทราบว่าเนื้องอกนั้นยังสามารถผ่าตัดเอาออกได้หรือลุกลามไปมากจนไม่สามารถผ่าตัดได้ บ่อยครั้งที่การประเมินนี้จะทำได้ก็จนกว่าลงมือผ่าตัดแล้วเท่านั้น<ref name="feldman2"/>
 
แนวทางทั่วไปในการประเมินว่าสามารถผ่าตัดออกได้หรือไม่ ได้แก่<ref>{{cite journal |author=Tsao J, Nimura Y, Kamiya J, Hayakawa N, Kondo S, Nagino M, Miyachi M, Kanai M, Uesaka K, Oda K, Rossi R, Braasch J, Dugan J |title=Management of hilar cholangiocarcinoma: comparison of an American and a Japanese experience |journal=Ann Surg |volume=232 |issue=2 |pages=166–74 |year=2000 |pmid=10903592 |doi=10.1097/00000658-200008000-00003}}</ref><ref>{{cite journal |author=Rajagopalan V, Daines W, Grossbard M, Kozuch P |title=Gallbladder and biliary tract carcinoma: A comprehensive update, Part 1 |journal=Oncology (Williston Park) |volume=18 |issue=7 |pages=889–96 |year=2004 |pmid=15255172}}</ref>
บรรทัด 128:
 
== การรักษา ==
หากไม่สามารถผ่าตัดเอาเนื้องอกออกได้ทั้งหมด มะเร็งท่อน้ำดีก็ถือเป็นมะเร็งที่ไม่มีทางรักษาให้หายได้ ด้วยเหตุว่าการประเมินว่าผ่าตัดเนื้องอกได้หรือไม่ในผู้ป่วยส่วนใหญ่นั้นต้องสำรวจระหว่างผ่าตัดวิธีเดียวเท่านั้น<ref>{{cite journal |author=Su C, Tsay S, Wu C, Shyr Y, King K, Lee C, Lui W, Liu T, P'eng F |title=Factors influencing postoperative morbidity, mortality, and survival after resection for hilar cholangiocarcinoma |journal=Ann Surg |volume=223 |issue=4 |pages=384–94 |year=1996 |pmid=8633917 |doi=10.1097/00000658-199604000-00007}}</ref> ทำให้ผู้ป่วยจำนวนมากต้องได้รับการผ่าตัดสำรวจช่องท้อง เว้นเสียแต่มีข้อบ่งชี้ชัดเจนแล้วว่าเนื้องอกนั้นอยู่ในระยะที่ไม่สามารถรักษาได้โดยการผ่าตัด<ref name="feldman2"/> อย่างไรก็ดี มาโยคลินิกรายงานความสำเร็จอย่างมีนัยสำคัญในการรักษามะเร็งท่อน้ำดีระยะเริ่มต้นด้วยการปลูกถ่ายตับโดยใช้แนวทางเข้าสู่แบบ protocolized และมีเกณฑ์คัดเลือกที่เข้มงวด<ref>{{cite journal | vauthors = Rosen CB, Heimbach JK, Gores GJ | title = Surgery for cholangiocarcinoma: the role of liver transplantation | journal = HPB | volume = 10 | issue = 3 | pages = 186–9 | year = 2008 | pmid = 18773052 | pmc = 2504373 | doi = 10.1080/13651820801992542 }}</ref>
 
การบำบัดตัวเสริมหลังการปลูกถ่ายตับอาจมีที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยที่ผ่าตัดไม่ได้บางคน<ref>{{cite journal | vauthors = Heimbach JK, Gores GJ, Haddock MG, Alberts SR, Pedersen R, Kremers W, Nyberg SL, Ishitani MB, Rosen CB | title = Predictors of disease recurrence following neoadjuvant chemoradiotherapy and liver transplantation for unresectable perihilar cholangiocarcinoma | journal = Transplantation | volume = 82 | issue = 12 | pages = 1703–7 | date = December 2006 | pmid = 17198263 | doi = 10.1097/01.tp.0000253551.43583.d1 }}</ref> การบำบัดที่จำกัดอยู่เฉพาะบางบริเวณ (lororegional) นั้น ได้แก่ การให้สิ่งอุดหลอดเลือดเคมีทางหลอดเลือดแดง (transarterial chemoembolization, TACE) การให้สิ่งอุดหลอดเลือดรังสีทางหลอดเลือดแดง (transarterial radioembolization, TARE) และการบำบัดลอกอาจมีที่ใช้ในมะเร็งท่อน้ำดีชนิดในตับเพื่อให้การรักษาประทังหรืออาจมีโอกาสหายในผู้ป่วยที่ไม่ควรรับการผ่าตัด<ref>{{Cite journal|last=Kuhlmann|first=Jan B.|last2=Blum|first2=Hubert E.|date=May 2013|title=Locoregional therapy for cholangiocarcinoma|journal=Current Opinion in Gastroenterology|volume=29|issue=3|pages=324–8|doi=10.1097/MOG.0b013e32835d9dea|issn=0267-1379|pmid=23337933}}</ref>
บรรทัด 218:
| journal = Journal of hepato-biliary-pancreatic surgery
| doi = 10.1007/s005340050095
}}</ref> การผ่าศพเป็นชุดรายงานความชุกระหว่าง 0.01% ถึง 0.46%<ref name="ReferenceA">{{cite journal | vauthors = Vauthey JN, Blumgart LH | title = Recent advances in the management of cholangiocarcinomas | journal = Seminars in Liver Disease | volume = 14 | issue = 2 | pages = 109–14 | date = May 1994 | pmid = 8047893 | doi = 10.1055/s-2007-1007302 }}</ref><ref>[http://www.cancer.gov/statistics/ Cancer Statistics Home Page — National Cancer Institute<!-- Bot generated title -->]</ref> มีความชุกของมะเร็งท่อน้ำดีในทวีปเอเชียสูงกว่า ซึ่งระบุว่าสาเหตุมาจากการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับบางชนิด อุบัติการณ์ของมะเร็งท่อน้ำดีเพิ่มขึ้นตามอายุ และพบในชายบ่อยกว่าหญิงเล็กน้อย (อาจเนื่องจากมีอัตราเกิดท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิในชายสูงกว่าหญิงซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญ)<ref name=autogenerated1>{{cite journal | vauthors = Henson DE, Albores-Saavedra J, Corle D | title = Carcinoma of the extrahepatic bile ducts. Histologic types, stage of disease, grade, and survival rates | journal = Cancer | volume = 70 | issue = 6 | pages = 1498–501 | date = September 1992 | pmid = 1516001 | doi = 10.1002/1097-0142(19920915)70:6<1498::AID-CNCR2820700609>3.0.CO;2-C }}</ref> ความชุกของมะเร็งท่อน้ำดีในผู้ป่วยท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิอาจสูงถึง 30% จากการศึกษาด้วยการผ่าศพ<ref name="autopsy">{{cite journal | vauthors = Rosen CB, Nagorney DM, Wiesner RH, Coffey RJ, LaRusso NF | title = Cholangiocarcinoma complicating primary sclerosing cholangitis | journal = Annals of Surgery | volume = 213 | issue = 1 | pages = 21–5 | date = January 1991 | pmid = 1845927 | pmc = 1358305 | doi = 10.1097/00000658-199101000-00004 }}</ref>
 
งานวิจัยหลายชิ้นแสดงให้เห็นว่ากำลังมีการเพิ่มขึ้นของอุบัติการณ์ของมะเร็งท่อน้ำดีในตับในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา โดยพบผู้ป่วยเพิ่มขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป เอเชีย และออสเตรเลีย<ref>งานวิจัยที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกันซึ่งแสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของอุบัติการณ์ของมะเร็งท่อน้ำดีทั่วโลกเช่นตัวอย่างดังนี้