ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8932662 โดย Potapt: ขออภัยครับด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล นิคม
| name = ภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือ
| settlement_type = [[ภูมิภาคของประเทศไทย|ภูมิภาค]]
|image_skyline = {{Photomontage
บรรทัด 18:
| image_map = Thailand Isan.png
| map_alt =
| map_caption = ภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือในประเทศไทย
|parts_type = จังหวัด
|parts_style= coll
บรรทัด 73:
}}
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ([[อังกฤษ]]: Northeastern Thailand) หรือ '''ภาคอีสาน''' (มาจาก[[ภาษาบาลี]]หรือ[[ภาษาสันสกฤต]] ऐशान ''aiśāna'' แปลว่า "ตะวันออกเฉียงเหนือ")<ref>{{cite web|author=Klaus Glashoff |url=http://spokensanskrit.de/index.php?script=HK&tinput=northeast&country_ID=&trans=Translate&direction=AU |title=Spoken Sanskrit |publisher=Spokensanskrit.de |date= |accessdate=2010-05-02}}</ref> หรือ '''ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ''' เป็นภูมิภาคหนึ่งใน[[ประเทศไทย]] ตั้งอยู่บน[[ที่ราบสูงโคราช|แอ่งโคราช]]และ[[แอ่งสกลนคร]] มี[[แม่น้ำโขง]]กั้น[[ประเทศลาว]]ทางทิศเหนือและตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มี[[เทือกเขาพนมดงรัก]]กั้น[[ประเทศกัมพูชา]]และ[[ภาคตะวันออก]]ของประเทศไทย และมี[[ทิวเขาเพชรบูรณ์]]และ[[ทิวเขาดงพญาเย็น]]เป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกจาก[[ภาคกลาง]]
 
ภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือยังมีเนื้อที่มากที่สุดของ[[ประเทศไทย]] ประมาณ 168,854 ตารางกิโลเมตร หรือมีเนื้อที่ร้อยละ 33.17 เทียบได้กับหนี่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของ[[ประเทศไทย]]ได้จัดว่าเป็นพื้นที่ที่ใหญ่[[ที่สุดในประเทศไทย]] เทือกเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอด[[ภูลมโล]] ภูหลวง และ[[ภูกระดึง]] ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของ[[แม่น้ำ]]สายสำคัญของชาวอีสานในหลาย[[จังหวัด]]ด้วยกัน เช่น [[แม่น้ำห้วยหลวง]] [[แม่น้ำชี]] [[ลำตะคอง]] [[แม่น้ำพอง]] [[แม่น้ำเลย]] [[แม่น้ำพรม]] [[แม่น้ำมูล]] [[แม่น้ำสงคราม]]
 
ภาษาหลักของภาคนี้ คือ [[ภาษาอีสาน|ภาษาลาวอีสาน]] ซึ่งเป็นภาษาสำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง ส่วน[[ภาษาไทย]]นิยมใช้กันทั่วไปโดยเฉพาะในเมืองใหญ่และ[[จังหวัดนครราชสีมา]]แต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก ขณะเดียวกันยังมี[[ภาษาเขมร]]ที่ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ นอกจากนี้ มีภาษาถิ่นอื่น ๆ อีกมาก เช่น [[ภาษาผู้ไท]] [[ภาษาโส้]] [[ภาษาไทย|ภาษาไทโคราช]] [[ภาษากูย|ภาษากวย (ส่วย)]] ภาษาแสก ภาษาข่า ภาษากะเลิง ภาษาโย้ย ภาษาย้อ เป็นต้น ภาคอีสานยังมีเอกลักษณ์ทาง[[วัฒนธรรม]]ที่โดดเด่น เช่น อาหารอีสาน [[ภาษา]] อักษร เช่น อักษรไทน้อย [[ดนตรี]][[หมอลำ]] [[กันตรึม|ดนตรีกันตรึม]] [[เจรียง|ดนตรีเจรียง]] และ[[ศิลปะ]]การ[[ฟ้อนรำ]] การเซิ้ง ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ เป็นต้น
 
== ภูมิศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Isansatellite.jpg|thumb|left|จากภาพถ่ายดาวเทียมของภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือ จะสามารถมองเห็นเขตแดนประเทศไทยกับ[[ประเทศลาว]]และ[[ประเทศกัมพูชา]]ได้ เนื่องจาก[[การทำลายป่า]]ที่มากขึ้นในภาคอีสาน]]
 
ภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือครอบคลุมพื้นที่ 160,000 ตารางกิโลเมตร มีขนาดเท่ากับครึ่งหนึ่งของ[[ประเทศเยอรมนี]] ภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือตั้งอยู่บน[[ที่ราบสูงโคราช|แอ่งโคราช]]และ[[แอ่งสกลนคร]] โดยลาดเอียงมาจาก[[ทิวเขาเพชรบูรณ์]]ทางทิศตะวันตกของภูมิภาค ลงไปยัง[[แม่น้ำโขง]] ซึ่งกั้น[[ประเทศลาว]]ทางทิศเหนือและตะวันออกของภูมิภาค และทิศใต้กั้น[[ประเทศกัมพูชา]]ด้วย[[ทิวเขาพนมดงรัก]] แอ่งโคราชจะอยู่ในอีสานภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีแม่น้ำสายหลัก คือ [[แม่น้ำมูล]] และ[[แม่น้ำชี]] ทิศเหนือของแอ่งโคราชจะจรดแอ่งสกลนครโดยมีเทือกเขาภูพานกั้นไว้ แอ่งสกลนครมีแม่น้ำสายหลัก คือ [[แม่น้ำเลย]] และ[[แม่น้ำสงคราม]] [[ดิน]]ในภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็น[[ทราย]] ประกอบกับแหล่งสะสม[[เกลือ]]เป็นจำนวนมาก
 
ภูมิประเทศของภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือเป็นที่ราบ บางส่วนเป็นภูเขา โดยเฉพาะบริเวณตอนกลางของภูมิภาค เช่น [[จังหวัดกาฬสินธุ์]] [[จังหวัดขอนแก่น]] [[จังหวัดชัยภูมิ]] [[จังหวัดนครพนม]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] และ[[จังหวัดบึงกาฬ]] โดยมีจุดสูงสุดของภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนืออยู่ที่ ยอดภูหลวง 1,835 เมตร เหนือระดับทะเลปานกลาง ตั้งอยู่ใน[[อุทยานแห่งชาติภูกระดึง|เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง]] (จังหวัดเลย)
 
[[ไฟล์:Isaanmountains.png|thumb|right|เทือกเขาและแม่น้ำในภาคอีสาน]]
[[ลำน้ำสาขา]]หลักของแม่น้ำโขงในประเทศไทย ได้แก่ [[แม่น้ำมูล]] และ[[แม่น้ำชี]] แม่น้ำมูลไหลมาจาก[[อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่]]ใน[[จังหวัดนครราชสีมา]] และไหลไปทางทิศตะวันออก บรรจบกับแม่น้ำโขงใน[[จังหวัดอุบลราชธานี]] แม่น้ำอีกสายหนึ่ง คือ แม่น้ำชี ซึ่งไหลผ่านตอนกลางของภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือ ก่อนที่จะไหลไปทางใต้เพื่อบรรจบกับแม่น้ำมูลใน[[จังหวัดศรีสะเกษ]] แม่น้ำเลย และแม่น้ำสงคราม ก็เป็นลำน้ำสาขาของแม่น้ำโขงเช่นเดียวกัน โดยแม่น้ำเลยไหลไปทางทิศเหนือผ่าน[[จังหวัดเลย]] และแม่น้ำสงครามไหลไปทางตะวันออกผ่าน[[จังหวัดอุดรธานี]] [[จังหวัดสกลนคร]] [[จังหวัดนครพนม]] และ[[จังหวัดหนองคาย]]
 
ช่วง[[อุณหภูมิ]]เฉลี่ยของภาคอีสาน ตะวันออกเฉียงเหนือคือ ตั้งแต่ 30.2 องศาเซลเซียส ถึง 19.6 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดที่บันทึกไว้ คือ 43.9 องศาเซลเซียส ใน[[จังหวัดอุดรธานี]] อุณหภูมิต่ำสุด คือ -1.4 องศาเซลเซียส ใน[[จังหวัดสกลนคร]]{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
จังหวัดในภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือ มีทั้งหมด 20 จังหวัด ตาม[[สำนักงานราชบัณฑิตยสภา]] และตาม[[คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]<ref name="royin"> http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=1378 ราชบัณฑิตยสถาน </ref> ได้แก่
 
{| class="wikitable sortable" width="70%"
บรรทัด 225:
 
== ประชากรศาสตร์ ==
ประชากรรวมของภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. 2553 มีจำนวนประมาณ 21,305,000 คน ร้อยละ 40 ของจำนวนประชากรอยู่ใน[[จังหวัดนครราชสีมา]] [[จังหวัดอุบลราชธานี]] [[จังหวัดอุดรธานี]] และ[[จังหวัดขอนแก่น]] จังหวัดดังกล่าวนี้มี[[เทศบาลนคร]]ที่มีชื่อเดียวกันกับจังหวัด เรียกกันว่า "สี่เมืองใหญ่ของอีสาน" ในปี พ.ศ. 2553 มีจำนวนประชากรในเทศบาลนครทั้งสี่ ได้แก่ [[เทศบาลนครนครราชสีมา]] 142,169 คน, [[เทศบาลนครอุดรธานี]] 137,979 คน, [[เทศบาลนครขอนแก่น]] 113,828 คน, และ[[เทศบาลนครอุบลราชธานี]] 83,148 คน อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2553 มีเพียงร้อยละ 50 ของประชากรในภาคนี้อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล [[จังหวัดกาฬสินธุ์]]เป็นจังหวัดที่มีประชากรในเขตเทศบาลมากที่สุด ส่วนจังหวัดร้อยเอ็ดน้อยที่สุด ดังนั้น ประชากรอีกส่วนหนึ่งยังคงอยู่ในเขตชนบท แต่อาศัยอยู่รอบ ๆ ศูนย์กลางเขตเมือง
 
ภาษาหลักของภาคนี้ คือ [[ภาษาอีสาน]] ซึ่งเป็น[[ภาษาลาว]]สำเนียงหนึ่งทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง มีจำนวนผู้ใช้ภาษาอีสานประมาณ 15 ถึง 23 ล้านคน ขณะเดียวกันยังมี[[ภาษาเขมรถิ่นไทย]] ซึ่งเป็นสำเนียงหนึ่งของ[[ภาษาเขมร]] ใช้กันมากในบริเวณอีสานใต้ ส่วน[[ภาษาไทย]]กลางนิยมใช้กันทั่วไปเป็นทางการโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ แต่ไม่ถือเป็นภาษาหลัก นอกจากนี้ ยังมี[[สำเนียงโคราช|ภาษาไทยสำเนียงโคราช]] ใช้พูดกันใน[[จังหวัดนครราชสีมา]]และจังหวัดใกล้เคียง มีผู้ใช้ราว 10,000 คน<ref>{{cite book|last1=Schliesinger|first1=Joachim|title=Tai Groups of Thailand, Vol 2: Profile of the Existing Groups|date=2001|publisher=White Lotus Co, Ltd|location=Bangkok|isbn=9781633232358|pages=7–12|edition=eBook by BooksMango|chapter-url=https://books.google.co.th/books?id=XTkjBgAAQBAJ&printsec=frontcover&source=gbs_ge_summary_r&cad=0#v=onepage&q&f=false|accessdate=9 July 2017|chapter=Chapter 2: Khorat Thai}}</ref> มีตำแหน่งทางภาษาระหว่างภาษาลาวและภาษาไทยกลาง
บรรทัด 231:
มีชนกลุ่มน้อย[[ชาวเขมร]]จำนวนมากกระจุกตัวอยู่ในทางตอนใต้ของ[[จังหวัดบุรีรัมย์]] [[จังหวัดสุรินทร์]] และ[[จังหวัดศรีสะเกษ]] และผู้ลี้ภัยชาวเวียดนามบางส่วนใน[[จังหวัดมุกดาหาร]] และ[[จังหวัดนครพนม]]
 
นอกจากนี้ ยังมีภาษาอื่น ๆ ที่พูดในภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือ โดยส่วนใหญ่เป็นชนกลุ่มน้อย ดังนี้
 
{| class="wikitable sortable"
บรรทัด 360:
 
=== เมืองใหญ่สุด ===
<center>'''รายชื่อเมืองใหญ่ที่สุดในภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือ 20 อันดับแรก เรียงตามจำนวนประชากร'''</center>
{{เมืองใหญ่สุด
| name = ภูมิภาคของประเทศไทย
บรรทัด 412:
 
== การศึกษา ==
สถาบันอุดมศึกษาที่สำคัญของภาคอีสานตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่
 
{{บน}}