ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาตะเกียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 65:
== ลักษณะ ==
[[ไฟล์:Messina Straits Myctophum punctatum.jpg|thumb|left|ปลาตะเกียงสายพันธุ์''Myctophum punctatum'']]
ปลาตะเกียงจะมีรูปร่างที่เรียวเล็กมีเกล็ดเล็กๆเล็ก ๆ สีขาวปกคลุมหัวค่อนข้างกลมและมีดวงตาทรงกลมขนาดใหญ่มีขากรรไกรขนาดเล็กที่ประกบติดกันได้ดีมีฟันชุดเล็กที่ขากรรไกรบนและล่าง มีครีบขนาดเล็กแต่บางชนิดก็มีครีบหลังที่ยาว พวกมันมีถุงลมที่เต็มไปด้วยไขมันเพื่อใช้ในสถานที่ๆสถานที่ ๆ มีแรงกดดันสูง
 
มันมีอวัยวะผลิตแสง(photophores)ซึ่งจะจัดเรียกต่างกันไปตามชนิดและเพศของพวกมันซึ่งเพศผู้จะอยู่อยู่เหนือห่างเพศเมียจะอยู่ใต้หางส่วนแบบตามชนิดก็จะมีแบบที่ใต้ท้อง,ด้านบนลำตัวหรือบนหัวบริเวณใกล้เคียงกับดวงตา ซึ่งอวัยวะผลิตแสงเหล่านี้จะผลิตแสงที่มีสีฟ้า,สีเขียวหรือสีเหลืองอ่อน<ref name=EoF/>
บรรทัด 75:
โดยปกติแล้วช่วงตอนกลางวันพวกมันจะอยู่บริเวณน้ำลึกประมาณ300 และ 1,500 เมตร (980 และ 4,920 ฟุต) แต่พอตกเย็นพวกมันจะขึ้นมาอยู่ที่บริเวณน้ำลึกระหว่าง 10 ถึง 100 เมตร (33 และ 328 ฟุต)เพื่อหลบหนีการไล่ล่าจากนักล่าอีกทั้งเพื่อมาหาอาหารเช่นแพลงค์ตอน พอเริ่มเช้าพวกมันก็จะกลับลงไปที่ทะเลลึกเหมือนเดิม<ref name=EoF/>
 
ความหลากหลายของรูปแบบการย้ายถิ่นเกิดขึ้นแค่กับบางชนิดเท่านั้นปลาตะเกียงที่อาศัยอยู่ลึกมากๆมาก ๆ อาจไม่มีการโยกย้ายใด ๆ ในขณะที่บางชนิดอาจทำเช่นนั้นเป็นระยะ ๆ รูปแบบการย้ายนั้นอาจจะขึ้นกับช่วงอายุ,เพศและฤดู
 
การเรียงตัวของอวัยวะเรืองแสง(photophores)นั้นจะแตกต่างกันตามชนิดซึ่งนั้นทำให้สื่อสารและหาคู่ผสมพันธุ์ได้ อีกทั้งพวกมันยังสามารถใช้แสงในการลวงตานักล่าได้ด้วยการควบคุมความสว่างของแสงนั้นให้เข้ากับสภาพแวดล้อมนั้นเอง
 
ปลาตะเกียงนั้นเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญต่อระบบนิเวศเป็นอย่างมากและยังเป็นจุดเชื่อมโยงที่สำคัญในห่วงโซ่อาหารซึ่งมันจะเป็นเหยือของ[[วาฬ]],[[โลมา]],[[ฉลาม]],[[นกทะเล]]และอื่นๆอื่น ๆ อีกมากโดยปกติแล้วพวกมันกินแพลงค์ตอนเป็นอาหารแต่จากการศึกษาสำไส้ของพวกมันได้พบว่าพวกมันกินพลาสติกหรือขยะที่มนุษย์ทิ้งลงมาในทะเลอีกด้วย<ref>{{Cite journal|last=Rochman|first=Chelsea, et al.|date=2014|title=Polybrominated diphenyl ethers (PBDEs) in fish tissue may be an indicator of plastic contamination in marine habitats|url=|journal=Science of the Total Environment|doi=10.1016/j.scitotenv.2014.01.058|pmid=|access-date=}}</ref>
 
== การสำรวจ ==
ในช่วงสงครามโลกครังที่2ทหารได้มีการสำรวจทะเลลึกผ่านคลื่นโซนาร์จึงได้พบกลุ่มของสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่ที่ระดับความลึก 300-500เมตรซึ่งนั้นก็คือฝูงของปลาตะเกียงซึ่งมาพวกมันกำลังจะมากินแพลงค์ตอนในเวลาเย็น<ref name="TeAraMZ">Ryan P [http://www.teara.govt.nz/EarthSeaAndSky/SeaLife/DeepSeaCreatures/2/en "Deep-sea creatures: The mesopelagic zone"] ''Te Ara - the Encyclopedia of New Zealand''. Updated 21 September 2007.</ref>
 
จากการสำรวจชนิดและสายพันธุ์ปลาทะเลลึกพบว่าพวกมันนั้นเป็น65%ของชนิดสายพันธุ์ปลาทะเลลึกทั้งหมดที่ค้นพบ<ref name="EoF"/>จึงทำให้กล่าวได้ว่ามันเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีการกระจ่ายพันธุ์ได้แพร่หลายในสถานที่ต่างๆต่าง ๆ มากที่สุดซึ่งน้ำหนักโดยรวมของการประมงที่สามารถจับปลาชนิดนี้ได้นั้นมีน้ำหนักมากถึง550-660 ล้านเมตริกตัน<ref>{{cite web | title = Deep-sea fish diversity and ecology in the benthic boundary layer |author1=R. Cornejo |author2=R. Koppelmann |author3=T. Sutton |lastauthoramp=yes | url = http://www.agu.org/meetings/os06/os06-sessions/os06_OS45Q.html}}</ref>