ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไทๆ (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนไปยัPotapt
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 22:
* ตาม[[ภาษามอญ]] เรียกคนไทยว่า "หรั่ว เซม" (หรั่ว ภาษามอญแปลว่าพวก) จนกระทั่งปัจจุบัน {{อ้างอิง}}
* [[ชาวมลายู]]และผู้มีเชื้อสายมลายู (รวมถึงในประเทศไทย) ใช้คำเรียกไทยว่า "สยาม" (โดยใน[[ภาษามลายูปัตตานี]]จะออกเสียงว่า สิแย) มาจนถึงปัจจุบัน (ดังเช่นที่ปรากฏในเอกสารของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในบริเวณจังหวัดชายแดนภาคใต้) {{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
* ใน[[ภาษาเขมร]] คำว่า "สยาม" หมายถึง "เจ้านาย" ผู้สร้างนครวัดของเขมร ส่วนคำว่า "เขมร" หมายความว่า ข้าทาสบริวารชั้นต่ำ
* ใน[[ภาษาเขมร]] คำว่า "สยาม" หมายถึง "ขโมย" โดยออกเสียงว่า "ซี-เอม" เมือง[[เสียมราฐ]] ซึ่งอยู่ใกล้กับ[[นครวัด]] จึงมีความหมายว่า "พวกขโมยพ่ายแพ้" ดังนั้น ความหมายของคำว่า "สยาม" ในภาษาเขมรจึงหมายถึง "พวกขโมยป่าเถื่อน" เนื่องจากในยุคที่ขอมเรืองอำนาจ มีคนไทที่อพยพมาจากทางเหนือเข้าสู่ดินแดนภาคอีสานของเขมรซึ่งอาจเข้ามาโดยการกวาดต้อนของชาวเขมรเองเพื่อใช้เป็นแรงงานในการสร้างปราสาทหินต่างๆ คำว่า "สยาม" จึงเป็นคำเขมรที่ใช้เรียกกลุ่มคนไทซึ่งในเวลานั้นชาวเขมรยังมองว่าเป็นแค่คนป่า บนรูปสลักฝาผนัง ณ [[นครวัด]] [[ประเทศกัมพูชา]]ที่แสดงถึงกำลังพลจากอาณาเขตต่าง ๆ ที่ได้เข้ามาร่วมกับ[[พระเจ้าชัยวรมันที่ 7]] มีภาพกองกำลังกองหนึ่งที่มีคำบรรยายใต้ภาพว่า "เนะ สยฺมกุก" (เนะ สยำกุก) <ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ชำนาญ สัจจะโชติ
| ชื่อหนังสือ = สยำกุก-นครวัด กองทัพศรีวิชัย
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพฯ
| พิมพ์ที่ = บริษัท พิมพ์ดีการพิมพ์ จำกัด
| ปี = 2549
| ISBN = 974-88126-8-5
| จำนวนหน้า = 160
}}
</ref> ซึ่งแปลได้ความว่า "นี่ เสียมกุก" เป็นกองกำลังต่างหากจากกองกำลังจาก[[อาณาจักรละโว้]] ซึ่งรูปสลักฝาผนังได้สลักแยกไว้พร้อมคำบรรยายที่แตกต่างกันอย่างชัดเจน สันนิษฐานกันว่าอาจเป็นคนไท-ลาวกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งแต่ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัดเป็นที่ยอมรับกัน
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/สยาม"