ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chinny Chan 1995 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
}}
 
'''[[พระยาศรีสุนทรโวหาร]]''' ( นามเดิม '''น้อย''' ต้นสกุล'''อาจารยางกูร)'''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|title=ประกาศพระราชทานนามสกุล ครั้งที่ ๑๘ (ลำดับที่ ๑๔๓๓ ถึงลำดับที่ ๑๔๘๓)|pages=827|publisher=[[สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา]]|issue=0 ง|volume=31 |url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2457/D/824_1.PDF|date=12 กรกฎาคม 2457|accessdate=5 กรกฎาคม 2563}}</ref> (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2434) เป็นชาว[[ฉะเชิงเทรา]] ท่านได้รับสมญาว่าเป็นศาลฎีกา[[ภาษาไทย]] เป็นผู้แต่งตำราเรียนชุดแรกของไทย เรียกว่า "แบบเรียนหลวง" ใช้สอนในโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ และหนังสือกวีนิพนธ์ที่มีคุณค่าอีกหลายเรื่อง งานชิ้นสำคัญชิ้นหนึ่ง คือท่านได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่กองตรวจโคลงบรรยายประกอบรูปภาพเรื่อง "[[รามเกียรติ์]]" รอบระเบียงพระอุโบสถ[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] เมื่อครั้งกรุงรัตนโกสินทร์ครบรอบ 100 ปี และตัวท่านเองก็ได้รับหน้าที่เป็นผู้แต่งด้วยท่านหนึ่ง
 
==ประวัติ==
พระยาศรีสุนทรโวหาร มีนามเดิมว่าน้อย อาจารยางกูร เกิดเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2365 ตรงกับปลายรัชกาลของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
 
=== การศึกษา ===
เมื่ออายุได้ประมาณ 5-7 ปี เรียนหนังสือไทยกับหลวงบรรเทาทุกข์ราษฎร์ กรมการเมืองฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นพี่ชายใหญ่ของท่าน ในขณะที่หลวงบรรเทาทุกข์ราษฎร อุปสมบทเป็นภิกษุอยู่ที่[[วัดโสธรวรารามวรวิหาร]] เมื่ออายุ 15 ปี ท่านได้เข้าไปศึกษาต่อใน[[กรุงเทพมหานคร|พระนคร]] อยู่กับสามเณรน้าชาย ชื่อทัด ณ [[วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร|วัดสระเกศวรวิหาร]] อายุ 14 ปี บรรพชาเป็น[[สามเณร]]เรียนหนังสือไทยกับพระกรรมวาจาจารย์ (จัน) เรียนหนังสือขอมกับพระครูวิหารกิจจานุการ (กรรมวาจาจีน) ศึกษา[[พระธรรมวินัย]]จากสำนักต่าง ๆ เช่น
 
* เรียนคัมภีร์สารสงเคราะห์ สำนัก[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ด่อน)]]
* เรียนคัมภีร์[[มังคลัตถทีปนี]]ในสำนักพระอุปทยาจารย์ (ศุข)
* เรียนคัมภีร์[[มูลกัจจายน์]]ในสำนัก[[สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สน)]]
* เรียนคัมภีร์[[กังขาวิตรณี]] ในสำนักอาจารย์เกิด
* เรียนคัมภีร์[[มหาวงศ์]]ในสำนักพระครูด้วง
* เรียนคัมภีร์อื่น ๆ ในสำนักพระครูปาน พระใบฎีกาแก้ว พระอาจารย์คง อาจารย์ที่เป็นคฤหัสถ์ด้วย
 
ท่านได้บวชเป็นสามเณร 8 ปี เมื่ออายุ 21 ปี ได้[[อุปสมบท]]ที่วัดสระเกศวรวิหาร ท่านแตกฉานทั้ง[[ภาษาไทย]] [[ภาษาเขมร]] [[ภาษาบาลี]] [[ภาษาสันสกฤต]] รู้การแต่งคำประพันธ์ฉันทลักษณ์เป็นอย่างดี เมื่ออายุ 24 ปี ได้เข้าแปล[[ปริยัติธรรม]]ในที่ประชุมพระราชาคณะ ณ [[วัดราชบุรณราชวรวิหาร]] ได้เป็น[[เปรียญธรรม 5 ประโยค ]]
 
ด้วยระยะเวลานั้น วัดสระเกศวรวิหารขาดพระมหาเปรียญเป็นเวลานับสิบปี [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงโสมนัสยินดี ทรงเฉลิมพระราชศรัทธาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์วัดใหม่ รื้อกุฏิเก่าฝาไม้ไผ่ออกสร้างกุฏิตึกเป็นเสนาสนะงดงาม ตลอดทั้งก่อสร้างสถาปนา[[ภูเขาทอง]]ด้วยนับเป็นเกียรติยศอย่างสูง ด้วยความอุตสาหะพากเพียรใฝ่รู้ของท่าน จึงได้ขอศึกษาพระปริยัติธรรมในสำนักของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในพรรษาที่ 6 ได้เข้าแปลพระปริยัติธรรมในที่ประชุมพระราชาคณะ ณ [[วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร]] สอบได้[[เปรียญธรรม 7 ประโยค]] พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น[[พระราชาคณะ]]ที่ “พระประสิทธิสุตคุณ”
 
=== การทำงาน ===
[[พ.ศ. 2396]] ท่านลาสิกขาบท [[เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรงค์ทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล)]] (หรือเจ้าหมื่นสรรพเพชรภักดีในขณะนั้น) ได้นำท่านเข้าถวายตัวรับราชการอยู่ในกรม[[มหาดเล็ก]]เวรศักดิ์ รัชกาลที่ 4 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงใช้สอยในเรื่องหนังสือไทย หนังสือขอมคล่องแคล่ว ตามที่พระองค์ต้องการ ไม่ว่าจะติดขัดในประการใดก็ช่วยเหลือพระองค์ได้เสมอ ท่านรับราชการ 1 ปี ก็ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นที่ “ขุนประสิทธิ์อักษรศาสตร์” ทำงานเป็นผู้ช่วยของเจ้ากรมพระยารักษ์ ว่าที่เจ้ากรมอักษรพิมพการ ครั้นถึงในสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนตำแหน่งเป็น “ขุนสารประเสริฐ” ปลัดทูลฉลอง กรมพระอาลักษณ์ และเมื่อเจ้า[[นครเชียงใหม่]]นำ[[ช้างเผือก]]มาถวาย ท่านจึงได้แต่งฉันท์กล่อมช้าง
 
พ.ศ. 2414 ท่านได้คิดแบบสอนอ่านหนังสือไทย รวม 6 เล่ม ได้แก่ [[มูลบทบรรพกิจ]] วาหนิติ์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน พิศาลการันต์ ไวพจน์พิจารณ์ (ไวพจน์พิจารณ์แต่งในปี [[พ.ศ. 2425]]) ซึ่งเป็นที่ถูกพระราชหฤทัยของพระองค์[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เป็นอันมาก ท่านจึงได้เลื่อนยศขึ้นเป็น “พระสารประเสริฐ” ปลัดทูลฉลอง กรมพระอาลักษณ์
[[พ.ศ. 2396]] ท่านลาสิกขาบท เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรงค์ (หรือเจ้าหมื่นสรรพเพชรภักดีในขณะนั้น) ได้นำท่านเข้าถวายตัวรับราชการอยู่ในกรม[[มหาดเล็ก]]เวรศักดิ์ รัชกาลที่ 4 ทรงใช้สอยในเรื่องหนังสือไทย หนังสือขอมคล่องแคล่ว ตามที่พระองค์ต้องการ ไม่ว่าจะติดขัดในประการใดก็ช่วยเหลือพระองค์ได้เสมอ ท่านรับราชการ 1 ปี ก็ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นที่ “ขุนประสิทธิ์อักษรศาสตร์” ทำงานเป็นผู้ช่วยของเจ้ากรมพระยารักษ์ ว่าที่เจ้ากรมอักษรพิมพการ ครั้นถึงในสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนตำแหน่งเป็น “ขุนสารประเสริฐ” ปลัดทูลฉลอง กรมพระอาลักษณ์ และเมื่อเจ้า[[นครเชียงใหม่]]นำ[[ช้างเผือก]]มาถวาย ท่านจึงได้แต่งฉันท์กล่อมช้าง
 
พ.ศ. 2414 ท่านได้คิดแบบสอนอ่านหนังสือไทย รวม 6 เล่ม ได้แก่ [[มูลบทบรรพกิจ]] วาหนิติ์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน พิศาลการันต์ ไวพจน์พิจารณ์ (ไวพจน์พิจารณ์แต่งในปี [[พ.ศ. 2425]]) ซึ่งเป็นที่ถูกพระราชหฤทัยของพระองค์[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เป็นอันมาก ท่านจึงได้เลื่อนยศขึ้นเป็น “พระสารประเสริฐ” ปลัดทูลฉลอง กรมพระอาลักษณ์
 
พ.ศ. 2415 ท่านได้เป็นครูสอนหนังสือไทย ในกรมมหาดเล็ก
เส้น 46 ⟶ 45:
พ.ศ. 2416 โปรดเกล้าฯ ให้เป็นอาจารย์สอนพระราชวงศ์ที่ยังพระเยาว์ และบุตรหลานข้าราชการได้รับพระราชทานเงินเดือน เดือนละ 60 บาท ภายหลังได้คิดแบบเรียนอีกหลายเล่ม เช่น อนันตวิภาค เขมรากษรมาลา (หนังสือขอม) นิติสารสาธก ปกรนำพจนาตถ์ โคลงฉันท์หลายเรื่อง
 
พ.ศ. 2418 ในปีนั้น[[พระยาศรีสุนทรโวหาร (ฟัก สาลักษณ)]] เจ้ากรมพระอาลักษณ์ ถึงแก่อนิจกรรม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งพระสารประเสริฐขึ้นเป็น ''พระศรีสุนทรโวหาร”โวหาร'' เจ้ากรมอาลักษณ์ ถือ[[ศักดินา]] 3,000 ไร่<ref>{{cite web|title=พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (ต่อ)|url=http://province.m-culture.go.th/chachoengsao/new/index.php?option=com_content&view=article&id=148:-54&catid=25|publisher=สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดฉะเชิงเทรา|accessdate=18 มกราคม 2559}}</ref>
 
พ.ศ. 2422 เมื่อมีการปฏิสังขรณ์[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]ท่านได้มีส่วนในการแต่งโคลง[[รามเกียรติ์]]เพื่อจารึกที่ระเบียงรอบพระอุโบสถ และเป็นท่านยังเป็นแม่กองตรวจโคลงรามเกียรติ์ที่ข้าราชการแต่งทูลเกล้าฯ ถวายอีกด้วย ผลงานและความชอบในครั้งนั้นได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น''"พระยาศรีสุนทรโวหาร ญานปรีชามาตย์ บรมนาคนารถนิตยภักดีพิริยะตยภักดี พาหะพิริยพาหะ"'' ถือศักดินา 3,000 ไร่ และได้รับพระราชทานเบี้ยหวัดปีละ 4 ชั่ง <ref>สามัญศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา,2540:99-100</ref>
 
พ.ศ. 2425 ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ให้เป็นองคมนตรีเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน และทำหน้าที่เป็นเลขานุการสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน และองคมนตรีสภาอีกด้วย <ref>เกษม หน่ายคอน และคณะ, 2540 : 1-4</ref> และให้มีการปฏิรูปการศึกษา โดยตั้งโรงเรียนหลวงแห่งแรก ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ [[พ.ศ. 2414]] โดยมีพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เป็นอาจารย์ใหญ่คนแรก <ref>พีระ เทพพิทักษ์ และคณะ,2539:63</ref>
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรเกล้าฯ ให้เป็นพระอาจารย์ถวายอักษร [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร]] และ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว|สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร]]
 
1719 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 ท่านได้รับพระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า]] ชั้น''[[ทุติยจุลจอมเกล้า]]''<ref name="จุลจอมเกล้า"/> และได้รับพระราชทานพานหมากทอง คนโททอง กระโถนทอง เป็นเครื่องยศ
 
=== อนิจกรรม ===
=== บั้นปลายชีวิต ===
[[พ.ศ. 2434]] ท่านได้ป่วยด้วยโรคชรา<ref>พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย). อนันตวิภาค. พระนคร : พิศาลบรรณนิติ, 2445. หน้า 1 ก-ค.</ref> ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานหมอหลวงรักษา และให้พาหมอเชลยศักดิ์มารักษาด้วย แต่อาการไม่ดีขึ้น ดังนั้นในวันที่ [[16 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2434]] ท่านได้ถึงแก่อนิจกรรม สิริอายุได้ 69 ปี ได้รับพระราชทานโกศโถเป็นเกียรติยศ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2434/030/265.PDF ข่าวตาย], เล่ม 8, ตอน 30, 25 ตุลาคม 2534, หน้า 265</ref> ต่อมาได้มีการพระราชทานเพลิงศพพระยาศรีสุนทรโวหารเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2438 ณ เมรุ [[วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร]] ในการนี้ [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้เสด็จเป็นองค์ประธาน<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2438/047/458.PDF เสด็จพระราชดำเนินพระราชทานเพลิงศพพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย)] </ref>
 
== ผลงาน ==
เส้น 68 ⟶ 67:
* พิศาลการันต์
* อนันตวิภาค
* เขมรากษรมาลา (เป็นแบบหนังสือขอม)
* นิติสารสาธก
* ปกีรณำพจนาตถ์ (คำกลอน)
เส้น 92 ⟶ 91:
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ท.จ.|๒๔๓๒2432}}<ref> name="จุลจอมเกล้า">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2432/034/285.PDF การพระราชพิธีฉัตรมงคลแลพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า] </ref>
{{ต.ช.}}
{{จ.ม.}}
{{ร.ด.ม.(ศ)}}
* [[ไฟล์:Dushdi Mala - Civilian (Thailand).svg|85px]] [[เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา]] (ร.ด.ม.) (ศ.)
; เครื่องยศตามแบบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้า
* พานหมากทองคำ
เส้น 104 ⟶ 103:
* [http://web.archive.org/20071205205920/www.geocities.com/Tokyo/Club/8843/compose/siam/00006prayasrisun.htm พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)]
* [http://www.baanjomyut.com/library/thai_important/12.html บุคคลสำคัญของไทย] baanjomyut.com
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
{{เรียงลำดับ|ศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)}}
{{อายุขัย|2365|2434}}
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดฉะเชิงเทรา‎‎]]
[[หมวดหมู่:ภาษาไทย]]
[[หมวดหมู่:นักเขียนชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:บรรดาศักดิ์ชั้นพระยา]]
[[หมวดหมู่:กวีชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:พระราชาคณะชั้นสามัญ]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 7 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดฉะเชิงเทรา‎‎]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ช.]]