ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มะเร็งท่อน้ำดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
ปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งท่อน้ำดี เช่น ท่อน้ำดีอักเสบแข็งปฐมภูมิ ลำไส้ใหญ่อักเสบเป็นแผล [[ตับแข็ง]] ตับอักเสบซี ตับอักเสบบี การติดเชื้อ[[พยาธิใบไม้ตับ]]บางชนิด และการผิดรูปของตับบางชนิด<ref name=NCI2018Pro/><ref name=Lancet2014/><ref>{{cite journal |last1=Steele |first1=JA |last2=Richter |first2=CH |last3=Echaubard |first3=P |last4=Saenna |first4=P |last5=Stout |first5=V |last6=Sithithaworn |first6=P |last7=Wilcox |first7=BA |title=Thinking beyond Opisthorchis viverrini for risk of cholangiocarcinoma in the lower Mekong region: a systematic review and meta-analysis. |journal=Infectious Diseases of Poverty |date=17 May 2018 |volume=7 |issue=1 |pages=44 |doi=10.1186/s40249-018-0434-3 |pmid=29769113|pmc=5956617 }}</ref> อย่างไรก็ดี บุคคลส่วนใหญ่ไม่สามารถหาปัจจัยเสี่ยงได้<ref name=Lancet2014/> การวินิจฉัยเป็นการตั้งข้อสงสัยโดยอาศัยการทดสอบเลือด การถ่ายภาพทางการแพทย์ การส่องกล้องลำไส้ และบางทีรวมถึงการสำรวจโดยผ่าตัด<ref name=NCI2018Sym/> ยืนยันโรคโดยการตรวจสอบเซลล์จากเนื้องอกภายใต้กล้องจุลทรรศน์<ref name=NCI2018Sym>{{cite web |title=Bile Duct Cancer (Cholangiocarcinoma) Symptoms, Tests, Prognosis, and Stages |url=https://www.cancer.gov/types/liver/patient/about-bile-duct-cancer-pdq#section/all |website=National Cancer Institute |accessdate=21 January 2019 |language=en |date=5 July 2018}}</ref> ตรงแบบเป็น[[มะเร็งชนิดต่อม]]<ref name=Lancet2014/>
 
หากผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีมีอาการครบตามแบบฉบับ มักอยู่ในระยะที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้แล้ว<ref name=NCI2018Pro/> ในผู้ป่วยเหล่านี้[[การรักษาประทัง]]อาจได้แก่การผ่าตัดออก เคมีบำบัด รังสีบำบัด และการใส่ท่อค้ำยัน<ref name=NCI2018Pro/> การผ่าตัดสามารถตัดเนื้องอกออกได้ในผู้ป่วยประมาณหนึ่งในสามที่มะเร็งเกิดที่ท่อน้ำดีรวม และน้อยกว่านั้นหากเกิดในตำแหน่งอื่น ทำให้มีโอกาสหายขาดได้<ref name=NCI2018Pro/> กระนั้นแม้ผ่าตัดออกได้สำเร็จ แต่โดยทั่วไปยังแนะนำเคมีบำบัดและรังสีบำบัดอยู่<ref name=NCI2018Pro/>ยู่ ในผู้ป่วยบางส่วนอาจรักษาด้วยการผ่าตัดอาจปลูกถ่ายตับ<ref name=Lancet2014>{{cite journal |last1=Razumilava |first1=N |last2=Gores |first2=GJ |title=Cholangiocarcinoma. |journal=Lancet |date=21 June 2014 |volume=383 |issue=9935 |pages=2168–79 |doi=10.1016/S0140-6736(13)61903-0 |pmid=24581682|pmc=4069226 }}</ref> แม้การผ่าตัดสำเร็จ แต่โดยทั่วไปแล้วจะมีโอกาสรอดชีวิต 5 ปี ตรงแบบน้อยกว่าไม่ถึง 50%<ref name=Brid2016/>
 
มะเร็งท่อน้ำดีพบน้อยในโลกตะวันตก โดยมีอุบัติการณ์ต่อปีประมาณ 0.5–2 ต่อ 100,000 คนในโลกตะวันตก<ref name=NCI2018Pro/><ref name=Brid2016/> แต่อุบัติการณ์ของมะเร็งท่อน้ำดีในไทยกลับมีสูงมากที่สุดในโลก ในบางพื้นที่สูงถึง 60 ต่อ 100,000 คนต่อปี<ref name = Vatanasapt.V>{{cite journal | year = 2002